หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต

คณะพุทธศาสตร์

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

-----------------------------------------------------------------------------------------

หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชาพระพุทธศาสนา ภาควิชาพระพุทธศาสนา

คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๔๖

๑. ชื่อหลักสูตร

                ๑.๑                          ชื่อหลักสูตรภาษาไทย             :               หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต

                                                                                                                สาขาวิชาพระพุทธศาสนา

                ๑.๒                         ชื่อหลักสูตรภาษาอังกฤษ        :               Bachelor of Arts Programme in Buddhism

๒. ชื่อปริญญา

                ๒.๑                         ชื่อเต็มภาษาไทย                     :               พุทธศาสตรบัณฑิต (พระพุทธศาสนา)

                                                ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ                 :               Bachelor of Arts (Buddhism)

                ๒.๒                        ชื่อย่อภาษาไทย                       :               พธ.บ. (พระพุทธศาสนา)

                                                ชื่อย่อภาษาอังกฤษ                  :               B.A. (Buddhism)

๓. หน่วยงานที่รับผิดชอบ

                ภาควิชาพระพุทธศาสนา คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

๔. วัตถุประสงค์

                ๔.๑         เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีความรอบรู้และเชี่ยวชาญในพุทธธรรม

                ๔.๒        เพื่อผลิตบัณฑิตให้สามารถวิเคราะห์พัฒนาการของพระพุทธศาสนา

                ๔.๓        เพื่อผลิตบัณฑิตให้สามารถประยุกต์พุทธธรรมในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา

๕. โครงสร้างหลักสูตร

โครงสร้างที่ ๑ วิชาเอก - โท

                ๑.            หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                                                             ๓๐          หน่วยกิต

                ๒.           หมวดวิชาเฉพาะ                                                                     ๑๑๔       หน่วยกิต

                                ๒.๑         วิชาแกนพระพุทธศาสนา                                        ๕๐          หน่วยกิต

                                ๒.๒        วิชาเฉพาะด้าน                                                        ๖๔          หน่วยกิต                                               

๒.๒.๑    วิชาเอก                                                    ๔๖          หน่วยกิต

                                                ๒.๒.๒   วิชาโท                                                     ๑๘          หน่วยกิต

                ๓.            หมวดวิชาเลือกเสรี                                                 ๖             หน่วยกิต

                                                                                                                รวม         ๑๕๐       หน่วยกิต

 

โครงสร้างที่ ๒ วิชาเอกเดี่ยว

                ๑.            หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                                                             ๓๐          หน่วยกิต

                ๒.           หมวดวิชาเฉพาะ                                                                     ๑๑๔       หน่วยกิต

                                ๒.๑         วิชาแกนพระพุทธศาสนา                                        ๕๐          หน่วยกิต

                                ๒.๒        วิชาเฉพาะด้าน                                                        ๖๔          หน่วยกิต

                                                ๒.๒.๑    วิชาบังคับ                                                ๓๘          หน่วยกิต

                                                ๒.๒.๒   วิชาเลือก                                                 ๒๖          หน่วยกิต

                ๓.            หมวดวิชาเลือกเสรี                                                 ๖             หน่วยกิต

                                                                                                                รวม         ๑๕๐       หน่วยกิต

 

๖. รายวิชา

                โครงสร้างที่ ๑ วิชาเอก - โท

๑. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ๓๐ หน่วยกิต

                นิสิตทุกคณะต้องศึกษาจำนวน ๓๐ หน่วยกิต จากกลุ่มวิชาต่าง ๆ ดังต่อไปนี้

                                ๑)            กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์                              ๘             หน่วยกิต

                                ๒)           กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์                             ๘             หน่วยกิต

                                ๓)           กลุ่มวิชาภาษา                                          ๘             หน่วยกิต

                                ๔)           กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์     ๖             หน่วยกิต

 

                ๑.๑)   กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ ๘ หน่วยกิต

                                ก.             วิชาบังคับ  ๔ หน่วยกิต

                                                ๐๐๐ ๑๐๑               มนุษย์กับสังคม       ๒(๒-๐-๔)

                                                ๐๐๐ ๑๐๒              เศรษฐศาสตร์ในชีวิตประจำวัน               ๒(๒-๐-๔)

                                ข.            วิชาเลือก ๔ หน่วยกิต

                                                ๐๐๐ ๑๐๓              การเมืองกับการปกครองของไทย           ๒(๒-๐-๔)

                                                ๐๐๐ ๑๐๔              กฎหมายทั่วไป        ๒(๒-๐-๔)

                                                ๐๐๐ ๒๐๑              ชีวิตกับจิตวิทยา       ๒(๒-๐-๔)

                                                ๐๐๐ ๒๐๒             มานุษยวิทยาเบื้องต้น             ๒(๒-๐-๔)

                ๑.๒)   กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ ๘ หน่วยกิต

                                ก. วิชาบังคับ ๔ หน่วยกิต

                                                ๐๐๐ ๑๐๕              เทคนิคการศึกษาระดับอุดมศึกษา            ๒(๒-๐-๔)

                                                ๐๐๐ ๑๐๖               ปรัชญาเบื้องต้น      ๒(๒-๐-๔)

                                                ๐๐๐ ๑๐๗              ศาสนาทั่วไป           ๒(๒-๐-๔)

                                                                หมายเหตุ :              รายวิชา ๐๐๐ ๑๐๕ เป็นวิชาบังคับโดยไม่นับหน่วยกิต

                                ข. วิชาเลือก ๔ หน่วยกิต

                                                ๐๐๐ ๒๐๓             ตรรกศาสตร์เบื้องต้น               ๒(๒-๐-๔)

                                                ๐๐๐ ๒๐๔             วัฒนธรรมไทย       ๒(๒-๐-๔)

                                                ๐๐๐ ๒๐๕             อารยธรรม               ๒(๒-๐-๔)

 

                 ๑.๓)       กลุ่มวิชาภาษา ๘ หน่วยกิต

                                ก.  วิชาบังคับ ๒ หน่วยกิต 

                                                ๐๐๐ ๑๐๘               ภาษากับการสื่อสาร ๒(๒-๐-๔)

                                ข. วิชาเลือกบังคับ ๒ หน่วยกิต

                                                ๐๐๐ ๑๐๙               ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน                ๒(๒-๐-๔)

                                                                                (สำหรับผู้ไม่เลือกเรียนภาษาอังกฤษ ๑-๒-๓)

                                                ๐๐๐ ๑๑๐               ภาษาศาสตร์เบื้องต้น               ๒(๒-๐-๔)

                                                                                (สำหรับผู้เลือกเรียนภาษาอังกฤษ ๑-๒-๓)

                                ค. วิชาเลือก ให้นิสิตเลือกศึกษาภาษาต่างประเทศ ๑ ภาษา ๔ หน่วยกิต

๐๐๐ ๑๑๑               ภาษาอังกฤษ ๑        ๒(๒-๐-๔)

(บังคับสำหรับผู้มีพื้นฐานภาษาอังกฤษไม่ถึงภาษาอังกฤษ ๒)

๐๐๐ ๑๑๒              ภาษาอังกฤษ ๒       ๒(๒-๐-๔)

๐๐๐ ๒๐๖              ภาษาอังกฤษ ๓       ๒(๒-๐-๔)

๐๐๐ ๑๑๓              ภาษาสันสกฤต ๑    ๒(๒-๐-๔)

(บังคับสำหรับผู้มีพื้นฐานภาษาสันสกฤตไม่ถึงภาษาสันสกฤต ๒)

๐๐๐ ๑๑๔              ภาษาสันสกฤต ๒   ๒(๒-๐-๔)

๐๐๐ ๒๐๗             ภาษาสันสกฤต ๓    ๒(๒-๐-๔)

๐๐๐ ๑๑๗              ภาษาเวียดนาม ๑    ๒(๒-๐-๔)

๐๐๐ ๑๑๘               ภาษาเวียดนาม ๒   ๒(๒-๐-๔)

๐๐๐ ๑๑๙               ภาษาพม่า ๑            ๒(๒-๐-๔)

๐๐๐ ๑๒๐              ภาษาพม่า ๒           ๒(๒-๐-๔)

                               

๐๐๐ ๑๒๑              ภาษามาเลย์ ๑         ๒(๒-๐-๔)

๐๐๐ ๑๒๒             ภาษามาเลย์ ๒        ๒(๒-๐-๔)

๐๐๐ ๑๒๓             ภาษาลาว ๑              ๒(๒-๐-๔)

๐๐๐ ๑๒๔             ภาษาลาว ๒             ๒(๒-๐-๔)

๐๐๐ ๑๒๕             ภาษาจีน ๑              ๒(๒-๐-๔)

๐๐๐ ๑๒๖              ภาษาจีน ๒             ๒(๒-๐-๔)

๐๐๐ ๑๒๗             ภาษาญี่ปุ่น ๑           ๒(๒-๐-๔)

๐๐๐ ๑๒๘              ภาษาญี่ปุ่น ๒          ๒(๒-๐-๔)

๐๐๐ ๑๑๕              ภาษาเขมร ๑           ๒(๒-๐-๔)

๐๐๐ ๑๑๖               ภาษาเขมร ๒          ๒(๒-๐-๔)

๐๐๐ ๑๒๙              ภาษาฮินดี ๑            ๒(๒-๐-๔)

๐๐๐ ๑๓๐              ภาษาฮินดี ๒           ๒(๒-๐-๔)

 

 

                ๑.๔)        กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ๖ หน่วยกิต

                                ก.  วิชาบังคับ ๔ หน่วยกิต

                                                ๐๐๐ ๑๓๑              สถิติเบื้องต้นและการวิจัย       ๒(๒-๐-๔)

                                                ๐๐๐ ๑๓๒             คณิตศาสตร์เบื้องต้น               ๒(๒-๐-๔)

                                ข. วิชาเลือก ๒ หน่วยกิต

                                                ๐๐๐ ๑๓๓              โลกกับสิ่งแวดล้อม  ๒(๒-๐-๔)

                                                ๐๐๐ ๒๐๘              วิทยาศาสตร์กายภาพและประยุกตวิทยา ๒(๒-๐-๔)

                                                ๐๐๐ ๒๐๙              ศาสตร์คณิตกรณ์เบื้องต้น        ๒(๒-๐-๔)

                                                ๐๐๐ ๒๑๐              สาธารณสุขมูลฐาน ๒(๒-๐-๔)

๒. หมวดวิชาเฉพาะ ๑๑๔ หน่วยกิต

                ๒.๑         วิชาแกนพระพุทธศาสนา ๕๐ หน่วยกิต

                นิสิตทุกคณะต้องศึกษาวิชาแกนพระพุทธศาสนา จำนวน ๕๐ หน่วยกิต ประกอบด้วยกลุ่มวิชาภาษาบาลี ๘ หน่วยกิต และกลุ่มวิชาพระพุทธศาสนา ๓๒ หน่วยกิต นอกจากนี้นิสิตแต่ละสาขาวิชา ต้องศึกษาวิชาพระพุทธศาสนาประยุกต์อีก ๑๐ หน่วยกิต

                ๒.๑.๑      กลุ่มวิชาภาษาบาลี ๘ หน่วยกิต

๐๐๐ ๑๕๑              แต่งแปลบาลี ๑        ๒(๒-๐-๔)

๐๐๐ ๑๕๒             แต่งแปลบาลี ๒       ๒(๒-๐-๔)

๐๐๐ ๒๕๑             บาลีไวยากรณ์ชั้นสูง               ๒(๒-๐-๔)

๐๐๐ ๒๕๒            วรรณคดีบาลี ๑        ๒(๒-๐-๔)

                                               

                ๒.๑.๒    กลุ่มวิชาพระพุทธศาสนา ๓๒ หน่วยกิต

๐๐๐ ๑๕๓              พระไตรปิฎกศึกษา                 ๒(๒-๐-๔)

๐๐๐ ๑๕๔              พระวินัยปิฎก ๑                      ๒(๒-๐-๔)

๐๐๐ ๒๕๓             พระวินัยปิฎก ๒                     ๒(๒-๐-๔)

๐๐๐ ๑๕๕              พระสุตตันตปิฎก ๑                 ๒(๒-๐-๔)

๐๐๐ ๒๕๔             พระสุตตันตปิฎก ๒                ๒(๒-๐-๔)

๐๐๐ ๒๕๕             พระอภิธรรมปิฎก ๑               ๒(๒-๐-๔)

๐๐๐ ๒๕๖             พระอภิธรรมปิฎก ๒              ๒(๒-๐-๔)

๐๐๐ ๑๕๖              ธรรมประยุกต์                         ๒(๒-๐-๔)

๐๐๐ ๑๕๗              ธรรมะภาคปฏิบัติ ๑                ๒(๒-๐-๔)

๐๐๐ ๑๕๘              ธรรมะภาคปฏิบัติ ๒               (๒)(๐-๒-๔)

๐๐๐ ๒๕๗             ธรรมะภาคปฏิบัติ ๓               (๒)(๐-๒-๔)

๐๐๐ ๒๕๘             ธรรมะภาคปฏิบัติ ๔               (๒)(๐-๒-๔)

๐๐๐ ๓๕๑              ธรรมะภาคปฏิบัติ ๕               (๒)(๐-๒-๔)๐๐๐ ๓๕๒             ธรรมะภาคปฏิบัติ ๖                (๒)(๐-๒-๔)

๐๐๐ ๔๕๑              ธรรมะภาคปฏิบัติ ๗               (๒)(๐-๒-๔)

๐๐๐ ๑๕๙              ประวัติพระพุทธศาสนา ๑      ๒(๒-๐-๔)

๐๐๐ ๑๖๐               ประวัติพระพุทธศาสนา ๒     ๒(๒-๐-๔)

๐๐๐ ๒๕๙             การปกครองคณะสงฆ์ไทย     ๒(๒-๐-๔)

๐๐๐ ๒๖๐              ธรรมะภาคภาษาอังกฤษ          ๒(๒-๐-๔)

๐๐๐ ๑๖๑    เทศกาลและพิธีกรรมพระพุทธศาสนา  ๒(๒-๐-๔)

๐๐๐ ๒๖๑              ธรรมนิเทศ              ๒(๒-๐-๔)

๐๐๐ ๒๖๒             งานวิจัยทางพระพุทธศาสนา  ๒(๒-๐-๔)

หมายเหตุ :  รายวิชา ๐๐๐ ๑๕๘, ๐๐๐ ๒๕๗, ๐๐๐ ๒๕๘, ๐๐๐ ๓๕๑, ๐๐๐ ๓๕๒, ๐๐๐ ๔๕๑ เป็นวิชาบังคับไม่นับหน่วยกิต

                               

                ๒.๑.๓    กลุ่มวิชาพระพุทธศาสนาประยุกต์ ๑๐ หน่วยกิต

                                ๑๐๑ ๓๐๑              พระพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์             ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๓๐๒             พระพุทธศาสนากับการสังคมสงเคราะห์               ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๔๐๑              นิเวศวิทยาในพระไตรปิฎก    ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๔๐๒             สาธารณสุขในพระไตรปิฎก  ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๔๐๓              นิเทศศาสตร์ในพระไตรปิฎก ๒(๒-๐-๔)

 

                ๒.๒        วิชาเฉพาะด้าน ๖๔ หน่วยกิต

                                ๒.๒.๑ วิชาเอก ๔๖ หน่วยกิต

                                ก. วิชาบังคับ ๓๘ หน่วยกิต

                                                ๑๐๑ ๓๐๓              หลักพุทธธรรม ๑    ๓(๓-๐-๖)

                                                ๑๐๑ ๓๐๔              พุทธปรัชญาเถรวาท                ๓(๓-๐-๖)

                                                ๑๐๑ ๓๐๕              พระพุทธศาสนากับภูมิปัญญาไทย         ๒(๒-๐-๔)

                                                ๑๐๑ ๓๐๖              พุทธธรรมกับสังคมไทย         ๒(๒-๐-๔)

                                                ๑๐๑ ๓๐๗              หลักพุทธธรรม ๒   ๓(๓-๐-๖)

                                                ๑๐๑ ๓๐๘              พระสูตรมหายาน   ๓(๓-๐-๖)

                                                ๑๐๑ ๓๐๙              พระพุทธศาสนามหายาน       ๓(๓-๐-๖)

                                                ๑๐๑ ๔๐๔              เปรียบเทียบเถรวาทกับมหายาน             ๒(๒-๐-๔)

                                                ๑๐๑ ๔๐๕              พระพุทธศาสนาในเอเชีย       ๓(๓-๐-๖)

                                                ๑๐๑ ๔๐๖              พุทธศิลปะ              ๒(๒-๐-๔)

                                                ๑๐๑ ๔๐๗              ธรรมะภาคภาษาอังกฤษชั้นสูง   ๒(๒-๐-๔)

                                                ๑๐๑ ๔๐๘              ศึกษาศาสตร์ในพระไตรปิฎก    ๓(๓-๐-๖)

                                                ๑๐๑ ๔๐๙              จิตวิทยาในพระไตรปิฎก        ๓(๓-๐-๖)

                                                ๑๐๑ ๔๑๐              อักษรจารึกในพระไตรปิฎก    ๒(๒-๐-๔)

                                                ๑๐๑ ๔๑๑              สัมมนาพระพุทธศาสนา         ๒(๒-๐-๔)

 

                                ข.  วิชาเลือก ๘ หน่วยกิต

                                                ๑๐๑ ๓๑๐              ชาดกศึกษา              ๒(๒-๐-๔)

                                                ๑๐๑ ๓๑๑              ธรรมบทศึกษา         ๒(๒-๐-๔)

                                                ๑๐๑ ๓๑๒             พระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน             ๒(๒-๐-๔)

                                                ๑๐๑๓๑๓               ชีวิตและผลงานของปราชญ์ทางพระพุทธศาสนา   ๒(๒-๐-๔)

                                                ๑๐๑ ๓๑๔              ปัญหาพระพุทธศาสนาในปัจจุบัน         ๒(๒-๐-๔)

                                                ๑๐๑ ๓๑๕              การเผยแผ่ศาสนาในประเทศไทย          ๒(๒-๐-๔)

                                                ๑๐๑ ๔๑๒             สังคมวิทยาในพระไตรปิฎก   ๒(๒-๐-๔)

                                                ๑๐๑ ๔๑๓              รัฐศาสตร์ในพระไตรปิฎก      ๒(๒-๐-๔)

                                                ๑๐๑ ๔๑๔              สัมมนาพระพุทธศาสนาภาคภาษาอังกฤษ              ๒(๒-๐-๔)

                                                ๑๐๑ ๔๑๕              เศรษฐศาสตร์ในพระไตรปิฎก                ๒(๒-๐-๔)

                                                ๑๐๑ ๔๑๖              พุทธประวัติในพระไตรปิฎก  ๒(๒-๐-๔)

 

๒.๒.๒ วิชาโท ๑๘ หน่วยกิต

                นิสิตสาขาวิชาพระพุทธศาสนา วิชาเอก - โท ต้องศึกษารายวิชาในสาขาวิชาอื่นสาขาใด

สาขาหนึ่ง จำนวน ๑๘ หน่วยกิต เป็นวิชาโท หรือศึกษาวิชาโทวิชาใดวิชาหนึ่งที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

                นิสิตที่ประสงค์จะศึกษาสาขาวิชาพระพุทธศาสนาเป็นวิชาโท จะต้องศึกษารายวิชาสาขาพระพุทธศาสนา จำนวนไม่น้อยกว่า ๑๘ หน่วยกิต ตามองค์ประกอบดังต่อไปนี้

                ๑)   วิชาบังคับ ๓ วิชา จำนวน ๘ หน่วยกิต คือ   ๑๐๑ ๓๐๓, ๑๐๑ ๓๐๗, ๑๐๑ ๔๑๑

                ๒)   วิชาเลือก จำนวน ๑๐ หน่วยกิต

                ให้เลือกศึกษารายวิชาต่างๆ ในวิชาเอกสาขาพระพุทธศาสนาอีกจำนวน ๑๐ หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

๓. หมวดวิชาเลือกเสรี ๖ หน่วยกิต

                นิสิตสาขาวิชาพระพุทธศาสนา วิชาเอก - โท ต้องเลือกศึกษารายวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นวิชาเลือกเสรี จำนวน ๖ หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

 

รายวิชาในหลักสูตร โครงสร้างที่ ๒ วิชาเอกเดี่ยว

๑. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ๓๐ หน่วยกิต  ดูรายละเอียดตามโครงสร้างที่ ๑ วิชาเอก - โท

๒. หมวดวิชาเฉพาะ ๑๑๔ หน่วยกิต

                ๒.๑         วิชาแกนพระพุทธศาสนา ๕๐ หน่วยกิต  ดูรายละเอียดตามโครงสร้างที่ ๑ วิชาเอก - โท

                ๒๒.        วิชาเฉพาะด้าน ๖๔ หน่วยกิต

                                ก. วิชาบังคับ ๔๖ หน่วยกิต

                                ๑๐๑ ๓๐๓              หลักพุทธธรรม ๑    ๓(๓-๐-๖)

                                ๑๐๑ ๓๐๔              พุทธปรัชญาเถรวาท                ๓(๓-๐-๖)

                                ๑๐๑ ๓๐๕              พระพุทธศาสนากับภูมิปัญญาไทย         ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๓๐๖              พุทธธรรมกับสังคมไทย         ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๓๐๗              หลักพุทธธรรม ๒   ๓(๓-๐-๖)

                                ๑๐๑ ๓๐๘              พระสูตรมหายาน   ๓(๓-๐-๖)

                                ๑๐๑ ๓๐๙              พระพุทธศาสนามหายาน       ๓(๓-๐-๖)

                                ๑๐๑ ๓๑๒             พระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน             ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๓๑๓              ชีวิตและผลงานของปราชญ์ทางพระพุทธศาสนา   ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๓๑๔              ปัญหาพระพุทธศาสนาในปัจจุบัน         ๒(๓-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๔๐๔              เปรียบเทียบเถรวาทกับมหายาน             ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๔๐๕              พระพุทธศาสนาในเอเชีย       ๓(๓-๐-๖)

                                ๑๐๑ ๔๐๖              พุทธศิลปะ              ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๔๐๗              ธรรมะภาคภาษาอังกฤษชั้นสูง                ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๔๐๘              ศึกษาศาสตร์ในพระไตรปิฎก ๓(๓-๐-๖)

                                ๑๐๑ ๔๐๙              จิตวิทยาในพระไตรปิฎก        ๓(๓-๐-๖)

                                ๑๐๑ ๔๑๐              อักษรจารึกในพระไตรปิฎก    ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๔๑๑              สัมมนาพระพุทธศาสนา         ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๔๑๓              รัฐศาสตร์ในพระไตรปิฎก      ๒(๒-๐-๔)

                                ข.วิชาเลือก ๑๘ หน่วยกิต

                                ๑๐๑ ๓๑๐              ชาดกศึกษา              ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๓๑๑              ธรรมบทศึกษา         ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๓๑๕              การเผยแผ่ศาสนาในประเทศไทย          ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๔๑๒             สังคมวิทยาในพระไตรปิฎก   ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๔๑๔              สัมมนาพระพุทธศาสนาภาคภาษาอังกฤษ              ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๔๑๕              เศรษฐศาสตร์ในพระไตรปิฎก                ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๔๑๖              พุทธประวัติในพระไตรปิฎก  ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๓๑๑             มิลินทปัญหาวิเคราะห์            ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๓๑๒            มังคลัตถทีปนีวิเคราะห์           ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๔๐๕             พระไตรปิฎกสัมพันธ์             ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๔๐๖             วิสุทธิมัคควิเคราะห์                ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๓ ๓๐๒             พระพุทธศาสนากับปรัชญา    ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๓ ๔๐๑              พุทธปรัชญามหายาน ๑          ๒(๒-๐-๔)

๓. หมวดวิชาเลือกเสรี ๖ หน่วยกิต

                นิสิตสาขาวิชาพระพุทธศาสนา วิชาเอกเดี่ยว ต้องเลือกศึกษารายวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นวิชาเลือกเสรี จำนวน ๖ หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

 

๕. คำอธิบายรายวิชา

                โครงสร้างที่ ๑ วิชาเอก - โท

๑. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

                นิสิตทุกคณะต้องศึกษา จำนวน ๓๐ หน่วยกิต จากกลุ่มวิชาต่าง ๆ ดังต่อไปนี้

                                ๑)            กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์                              ๘             หน่วยกิต

                                ๒)           กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์                             ๘             หน่วยกิต

                                ๓)           กลุ่มวิชาภาษา                                          ๘             หน่วยกิต

                                ๔)           กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์     ๖             หน่วยกิต

๑.๑) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ ๘ หน่วยกิต

ก.  วิชาบังคับ ๔ หน่วยกิต

๐๐๐ ๑๐๑               มนุษย์กับสังคม       ๒(๒-๐-๔)  (Man and Society)

๐๐๐ ๑๐๒              เศรษฐศาสตร์ในชีวิตประจำวัน               ๒(๒-๐-๔)  (Economics in Daily Life)

ข. วิชาเลือก ๔ หน่วยกิต

๐๐๐ ๑๐๓              การเมืองกับการปกครองของไทย           ๒(๒-๐-๔) (Politics and Thai Government)

๐๐๐ ๑๐๔              กฎหมายทั่วไป        ๒(๒-๐-๔)  (General Law)

๐๐๐ ๒๐๑              ชีวิตกับจิตวิทยา       ๒(๒-๐-๔)  (Life and Psychology)

๐๐๐ ๒๐๒             มานุษยวิทยาเบื้องต้น             ๒(๒-๐-๔)  (Introduction to Anthropology)

 

๑.๒)       กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ ๘ หน่วยกิต

ก. วิชาบังคับ ๔ หน่วยกิต

๐๐๐ ๑๐๕              เทคนิคการศึกษาระดับอุดมศึกษา            ๒(๒-๐-๔)  (Technique of Higher Learning)

๐๐๐ ๑๐๖               ปรัชญาเบื้องต้น      ๒(๒-๐-๔)  (Introduction to Philosophy)

๐๐๐ ๑๐๗              ศาสนาทั่วไป           ๒(๒-๐-๔)  (Religions)

                                                หมายเหตุ : รายวิชา ๐๐๐ ๑๐๕ เป็นวิชาบังคับไม่นับหน่วยกิต

ข. วิชาเลือก ๔ หน่วยกิต

๐๐๐ ๒๐๓             ตรรกศาสตร์เบื้องต้น               ๒(๒-๐-๔)  (Introduction to Logic)

๐๐๐ ๒๐๔             วัฒนธรรมไทย       ๒(๒-๐-๔)  (Thai Culture)

๐๐๐ ๒๐๕             อารยธรรม               ๒(๒-๐-๔)  (Civilization)

๑.๓)        กลุ่มวิชาภาษา ๘ หน่วยกิต

                                ก. วิชาบังคับ ๒ หน่วยกิต

๐๐๐ ๑๐๘               ภาษากับการสื่อสาร                 ๒(๒-๐-๔)  (Language and Communication)

                                ข. วิชาเลือกบังคับ ๒ หน่วยกิต

๐๐๐ ๑๐๙               ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน                ๒(๒-๐-๔)  (English in Daily Life)

                                                                (สำหรับผู้ไม่เลือกเรียนภาษาอังกฤษ ๑-๒-๓)

๐๐๐ ๑๑๐               ภาษาศาสตร์เบื้องต้น               ๒(๒-๐-๔)  (Introduction to Linguistics)

                                                                (สำหรับผู้เลือกเรียนภาษาอังกฤษ ๑-๒-๓)

               

                                ค. วิชาเลือก ให้นิสิตเลือกศึกษาภาษาต่างประเทศ ๑ ภาษา ๔ หน่วยกิต

๐๐๐ ๑๑๑               ภาษาอังกฤษ ๑        ๒(๒-๐-๔)  (English I)

                                (บังคับสำหรับผู้มีพื้นฐานภาษาอังกฤษไม่ถึงภาษาอังกฤษ ๒)

๐๐๐ ๑๑๒              ภาษาอังกฤษ ๒       ๒(๒-๐-๔)  (English II)

๐๐๐ ๒๐๖              ภาษาอังกฤษ ๓       ๒(๒-๐-๔)  (English III)

๐๐๐ ๑๑๓              ภาษาสันสกฤต ๑    ๒(๒-๐-๔)  (Sanskrit I)

                                                                (บังคับสำหรับผู้มีพื้นฐานภาษาสันสกฤตไม่ถึงภาษาสันสกฤต ๒)

 ๐๐๐ ๑๑๔             ภาษาสันสกฤต ๒   ๒(๒-๐-๔)  (Sanskrit II)

๐๐๐ ๒๐๗             ภาษาสันสกฤต ๓    ๒(๒-๐-๔)  (Sanskrit III)

๐๐๐ ๑๑๗              ภาษาเวียดนาม ๑    ๒(๒-๐-๔)  (Vietnamese I)

๐๐๐ ๑๑๘               ภาษาเวียดนาม ๒   ๒(๒-๐-๔)  (Vietnamese II)

๐๐๐ ๑๑๙               ภาษาพม่า ๑            ๒(๒-๐-๔)  (Burmese I)

๐๐๐ ๑๒๐              ภาษาพม่า ๒           ๒(๒-๐-๔)  (Burmese II)

๐๐๐ ๑๒๑              ภาษามาเลย์ ๑         ๒(๒-๐-๔)  (Malay I)

๐๐๐ ๑๒๒             ภาษามาเลย์ ๒        ๒(๒-๐-๔)  (Malay II)

๐๐๐ ๑๒๓             ภาษาลาว ๑              ๒(๒-๐-๔)  (Lao I)

๐๐๐ ๑๒๔             ภาษาลาว ๒             ๒(๒-๐-๔)  (Lao II)

๐๐๐ ๑๒๕             ภาษาจีน ๑              ๒(๒-๐-๔)  (Chinese I)

๐๐๐ ๑๒๖              ภาษาจีน ๒             ๒(๒-๐-๔)  (Chinese II)

๐๐๐ ๑๒๗             ภาษาญี่ปุ่น ๑           ๒(๒-๐-๔)  (Japanese I)

๐๐๐ ๑๒๘              ภาษาญี่ปุ่น ๒          ๒(๒-๐-๔)  (Japanese II)

๐๐๐ ๑๑๕              ภาษาเขมร ๑           ๒(๒-๐-๔)  (Khmer I)

๐๐๐ ๑๑๖               ภาษาเขมร ๒          ๒(๒-๐-๔)  (Khmer II)

๐๐๐ ๑๒๙              ภาษาฮินดี ๑            ๒(๒-๐-๔)  (Hindi I)

๐๐๐ ๑๓๐              ภาษาฮินดี ๒           ๒(๒-๐-๔)  (Hindi II)

 

๑.๔)        กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ๖ หน่วยกิต

                                ก. วิชาบังคับ ๔ หน่วยกิต 

๐๐๐ ๑๓๑              สถิติเบื้องต้นและการวิจัย       ๒(๒-๐-๔)  (Basic Statistics and Research)

๐๐๐ ๑๓๒             คณิตศาสตร์เบื้องต้น               ๒(๒-๐-๔)  (Basic Mathematics)

 

                                ข. วิชาเลือก ๒ หน่วยกิต

๐๐๐ ๑๓๓              โลกกับสิ่งแวดล้อม ๒(๒-๐-๔)  (World and Environment)

๐๐๐ ๒๐๘              วิทยาศาสตร์กายภาพและประยุกตวิทยา ๒(๒-๐-๔)  (Physical Science and Technology)

๐๐๐ ๒๐๙              ศาสตร์คณิตกรณ์เบื้องต้น        ๒(๒-๐-๔)  (Introduction to Computer Science)

๐๐๐ ๒๑๐              สาธารณสุขมูลฐาน                 ๒(๒-๐-๔)  (Primary Health Care)

 

๒. หมวดวิชาเฉพาะ ๑๑๔ หน่วยกิต

                ๒.๑ วิชาแกนพระพุทธศาสนา ๕๐ หน่วยกิต

                นิสิตทุกคณะต้องศึกษาวิชาแกนพระพุทธศาสนา จำนวน ๕๐ หน่วยกิต ประกอบด้วย

กลุ่มวิชาภาษาบาลี ๘ หน่วยกิต และกลุ่มวิชาพระพุทธศาสนา ๓๒ หน่วยกิต นอกจากนี้นิสิตแต่ละสาขาวิชาต้องศึกษากลุ่มวิชาพระพุทธศาสนาประยุกต์อีก ๑๐ หน่วยกิต

                ๒.๑.๑ กลุ่มวิชาภาษาบาลี ๘ หน่วยกิต

๐๐๐ ๑๕๑              แต่งแปลบาลี ๑        ๒(๒-๐-๔)  (Pali Composition and Translation I)

๐๐๐ ๑๕๒             แต่งแปลบาลี ๒       ๒(๒-๐-๔)  (Pali Composition and Translation II)

๐๐๐ ๒๕๑             บาลีไวยากรณ์ชั้นสูง               ๒(๒-๐-๔)  (Advanced Pali Grammar)

๐๐๐ ๒๕๒            วรรณคดีบาลี ๑        ๒(๒-๐-๔)  (Pali Literature I)

                ๒.๑.๒  กลุ่มวิชาพระพุทธศาสนา ๓๒ หน่วยกิต

๐๐๐ ๑๕๓              พระไตรปิฎกศึกษา                 ๒(๒-๐-๔)  (Tipitaka Studies)

๐๐๐ ๑๕๔              พระวินัยปิฎก ๑      ๒(๒-๐-๔)  (Vinaya Pitaka I)

๐๐๐ ๒๕๓             พระวินัยปิฎก ๒     ๒(๒-๐-๔)  (Vinaya Pitaka II)

๐๐๐ ๑๕๕              พระสุตตันตปิฎก ๑                 ๒(๒-๐-๔)  (Suttanta Pitaka I)

๐๐๐ ๒๕๔             พระสุตตันตปิฎก ๒                ๒(๒-๐-๔)  (Suttanta Pitaka II)

๐๐๐ ๒๕๕             พระอภิธรรมปิฎก ๑               ๒(๒-๐-๔)  (Abhidhamma Pitaka I)

๐๐๐ ๒๕๖             พระอภิธรรมปิฎก ๒              ๒(๒-๐-๔)  (Abhidhamma Pitaka II)

๐๐๐ ๑๕๖              ธรรมประยุกต์         ๒(๒-๐-๔)  (Applied Buddhism)

๐๐๐ ๑๕๗              ธรรมะภาคปฏิบัติ ๑                ๒(๒-๐-๔)   (Buddhist Meditation I)

๐๐๐ ๑๕๘              ธรรมะภาคปฏิบัติ ๒               (๒)(๐-๒-๔)  (Buddhist Meditation II)

๐๐๐ ๒๕๗             ธรรมะภาคปฏิบัติ ๓               (๒)(๐-๒-๔)  (Buddhist Meditation III)

๐๐๐ ๒๕๘             ธรรมะภาคปฏิบัติ ๔               (๒)(๐-๒-๔)  (Buddhist Meditation IV)

๐๐๐ ๓๕๑              ธรรมะภาคปฏิบัติ ๕               (๒)(๐-๒-๔)  (Buddhist Meditation V)

๐๐๐ ๓๕๒             ธรรมะภาคปฏิบัติ ๖                (๒)(๐-๒-๔)  (Buddhist Meditation VI)

๐๐๐ ๔๕๑              ธรรมะภาคปฏิบัติ ๗               (๒)(๐-๒-๔)  (Buddhist Meditation VII)

๐๐๐ ๑๕๙              ประวัติพระพุทธศาสนา ๑      ๒(๒-๐-๔)  (History of Buddhism I)

๐๐๐ ๑๖๐               ประวัติพระพุทธศาสนา ๒     ๒(๒-๐-๔)  (History of Buddhism II)

๐๐๐ ๒๕๙             การปกครองคณะสงฆ์ไทย     ๒(๒-๐-๔)  (Thai Sangha Administration)

๐๐๐ ๒๖๐              ธรรมะภาคภาษาอังกฤษ          ๒(๒-๐-๔)  (Dhamma in English)

๐๐๐ ๑๖๑               เทศกาลและพิธีกรรมพระพุทธศาสนา   ๒(๒-๐-๔)  (Buddhist Festival and Traditions)

๐๐๐ ๒๖๑              ธรรมนิเทศ              ๒(๒-๐-๔)  (Dhamma Communications)

๐๐๐ ๒๖๒             งานวิจัยทางพระพุทธศาสนา ๒(๒-๐-๔)  (Research Works on Buddhism)

                หมายเหตุ :              รายวิชา ๐๐๐ ๑๕๘, ๐๐๐ ๒๕๗, ๐๐๐ ๒๕๘, ๐๐๐ ๓๕๑, ๐๐๐ ๓๕๒,

                                ๐๐๐ ๔๕๑ เป็นวิชาบังคับไม่นับหน่วยกิต

 

                ๒.๑.๓    กลุ่มวิชาพระพุทธศาสนาประยุกต์ ๑๐ หน่วยกิต

๑๐๑ ๓๐๑              พระพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์             ๒(๒-๐-๔)  (Buddhism and Science)

๑๐๑ ๓๐๒             พระพุทธศาสนากับการสังคมสงเคราะห์               ๒(๒-๐-๔)  (Buddhism and Social Works)

๑๐๑ ๔๐๑              นิเวศวิทยาในพระไตรปิฎก    ๒(๒-๐-๔)  (Ecology in Tipitaka)

๑๐๑ ๔๐๒             สาธารณสุขในพระไตรปิฎก  ๒(๒-๐-๔)  (Health Care in Tipitaka)

๑๐๑ ๔๐๓              นิเทศศาสตร์ในพระไตรปิฎก ๒(๒-๐-๔)  (Communication in Tipitaka)

 

๒.๒        วิชาเฉพาะด้าน ๖๔ หน่วยกิต

                ๒.๒.๑ วิชาเอก ๔๖ หน่วยกิต

                ก. วิชาบังคับ ๓๘ หน่วยกิต

๑๐๑ ๓๐๓              หลักพุทธธรรม ๑    ๓(๓-๐-๖)  (Essence of Buddhadhamma I)

๑๐๑ ๓๐๔              พุทธปรัชญาเถรวาท                ๓(๓-๐-๖)  (Theravada Philosophy)

๑๐๑ ๓๐๕              พระพุทธศาสนากับภูมิปัญญาไทย         ๒(๒-๐-๔)  (Buddhism and Thai Thoughts)

๑๐๑ ๓๐๖              พุทธธรรมกับสังคมไทย         ๒(๒-๐-๔)  (Buddhadhamma and Thai Society)

๑๐๑ ๓๐๗              หลักพุทธธรรม ๒   ๓(๓-๐-๖)  (Essence of Buddhadhamma II)

๑๐๑ ๓๐๘              พระสูตรมหายาน   ๓(๓-๐-๖)  (Mahayana Sutras)

๑๐๑ ๓๐๙              พระพุทธศาสนามหายาน       ๓(๓-๐-๖)  (Mahayana Buddhism)

๑๐๑ ๔๐๔              เปรียบเทียบเถรวาทกับมหายาน      ๒(๒-๐-๔)  (Comparison between Theravada and Mahayana)

๑๐๑ ๔๐๕              พระพุทธศาสนาในเอเชีย       ๓(๓-๐-๖)  (Buddhism in Asia)

๑๐๑ ๔๐๖              พุทธศิลปะ              ๒(๒-๐-๔)  (Buddhist Arts)

๑๐๑ ๔๐๗              ธรรมะภาคภาษาอังกฤษชั้นสูง                ๒(๒-๐-๔)  (Dhamma in Advanced English)

๑๐๑ ๔๐๘              ศึกษาศาสตร์ในพระไตรปิฎก ๓(๓-๐-๖)  (Education in Tipitaka)

๑๐๑ ๔๐๙              จิตวิทยาในพระไตรปิฎก        ๓(๓-๐-๖)  (Psychology in Tipitaka)

๑๐๑ ๔๑๐              อักษรจารึกในพระไตรปิฎก    ๒(๒-๐-๔)  (Tipitaka Scripts)

๑๐๑ ๔๑๑              สัมมนาพระพุทธศาสนา         ๒(๒-๐-๔)  (Seminar on Buddhism)

 

                ข.   วิชาเลือก ๘ หน่วยกิต

๑๐๑ ๓๑๐              ชาดกศึกษา              ๒(๒-๐-๔)  (Jataka Studies)

๑๐๑ ๓๑๑              ธรรมบทศึกษา         ๒(๒-๐-๔)  (Dhammapada Studies)

๑๐๑ ๓๑๒             พระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน             ๒(๒-๐-๔)  (Buddhism in Contemporary World)

๑๐๑ ๓๑๓              ชีวิตและผลงานของปราชญ์ทางพระพุทธศาสนา                 ๒(๒-๐-๔)  (Life and Works of Buddhist Scholars)

๑๐๑ ๓๑๔              ปัญหาพระพุทธศาสนาในปัจจุบัน         ๒(๒-๐-๔)  (Current Problems of Buddhism)

๑๐๑ ๓๑๕              การเผยแผ่ศาสนาในประเทศไทย          ๒(๒-๐-๔)  (Propagation of Religions in Thailand)

๑๐๑ ๔๑๒             สังคมวิทยาในพระไตรปิฎก   ๒(๒-๐-๔)  (Sociology in Tipitaka)

๑๐๑ ๔๑๓              รัฐศาสตร์ในพระไตรปิฎก      ๒(๒-๐-๔)  (Political Science in Tipitaka)

๑๐๑ ๔๑๔              สัมมนาพระพุทธศาสนาภาคภาษาอังกฤษ          ๒(๒-๐-๔)  (Seminar on Buddhism in English)

๑๐๑ ๔๑๕              เศรษฐศาสตร์ในพระไตรปิฎก                ๒(๒-๐-๔)  (Economics in Tipitaka)

๑๐๑ ๔๑๖              พุทธประวัติในพระไตรปิฎก  ๒(๒-๐-๔)  (Life of the Buddha in Tipitaka)

                ๒.๒.๒   วิชาโท ๑๘ หน่วยกิต

                                นิสิตสาขาวิชาพระพุทธศาสนา วิชาเอก-โท ต้องศึกษารายวิชาในสาขาวิชาอื่นสาขาใดสาขาหนึ่ง จำนวน ๑๘ หน่วยกิต เป็นวิชาโท หรือศึกษาวิชาโทวิชาใดวิชาหนึ่งที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

                                นิสิตที่ประสงค์จะศึกษาสาขาวิชาพระพุทธศาสนาเป็นวิชาโท จะต้องศึกษารายวิชาในสาขาวิชาพระพุทธศาสนา จำนวนไม่น้อยกว่า ๑๘ หน่วยกิต ตามองค์ประกอบดังต่อไปนี้

                ๑)   วิชาบังคับ ๓ วิชา จำนวน ๘ หน่วยกิต คือ  ๑๐๑ ๓๐๓, ๑๐๑ ๓๐๗, ๑๐๑ ๔๑๑

                ๒)   วิชาเลือก จำนวน ๑๐ หน่วยกิต  ให้เลือกศึกษารายวิชาต่างๆ ในวิชาเอกสาขาพระพุทธศาสนาอีกจำนวน ๑๐ หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

๓. หมวดวิชาเลือกเสรี ๖ หน่วยกิต

                นิสิตสาขาวิชาพระพุทธศาสนา วิชาเอก-โท ต้องเลือกศึกษารายวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นวิชาเลือกเสรี จำนวน ๖ หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

โครงสร้างที่ ๒ วิชาเอกเดี่ยว

๑. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ๓๐ หน่วยกิต

                นิสิตทุกคณะต้องศึกษา จำนวน ๓๐ หน่วยกิต

๒. หมวดวิชาเฉพาะ ๑๑๔ หน่วยกิต

                ๒.๑  วิชาแกนพระพุทธศาสนา ๕๐ หน่วยกิต

                                นิสิตทุกคณะต้องศึกษา จำนวน ๕๐ หน่วยกิต

                ๒.๒  วิชาเฉพาะด้าน ๖๔ หน่วยกิต

                                ก. วิชาบังคับ ๔๖ หน่วยกิต

๑๐๑ ๓๐๓              หลักพุทธธรรม ๑    ๓(๓-๐-๖)  (Essence of Buddhadhamma I)

๑๐๑ ๓๐๔              พุทธปรัชญาเถรวาท                ๓(๓-๐-๖)  (Theravada Philosophy)

๑๐๑ ๓๐๕              พระพุทธศาสนากับภูมิปัญญาไทย         ๒(๒-๐-๔)  (Buddhism and Thai Thoughts)

๑๐๑ ๓๐๖              พุทธธรรมกับสังคมไทย         ๒(๒-๐-๔)  (Buddhadhamma and Thai Society)

๑๐๑ ๓๐๗              หลักพุทธธรรม ๒   ๓(๓-๐-๖)  (Essence of Buddhadhamma II)

๑๐๑ ๓๐๘              พระสูตรมหายาน   ๓(๓-๐-๖)  (Mahayana Sutras)

๑๐๑ ๓๐๙              พระพุทธศาสนามหายาน       ๓(๓-๐-๖)  (Mahayana Buddhism)

๑๐๑ ๓๑๒             พระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน             ๒(๒-๐-๔)  (Buddhism in Contemporary World)

๑๐๑ ๓๑๓              ชีวิตและผลงานของปราชญ์ทางพระพุทธศาสนา                 ๒(๒-๐-๔)  (Life and Works of Buddhist Scholars)

๑๐๑ ๓๑๔              ปัญหาพระพุทธศาสนาในปัจจุบัน         ๒(๒-๐-๔)  (Current Problems of Buddhism)

๑๐๑ ๔๐๔              เปรียบเทียบเถรวาทกับมหายาน      ๒(๒-๐-๔)  (Comparison between Theravada and Mahayana)

๑๐๑ ๔๐๕              พระพุทธศาสนาในเอเชีย       ๓(๓-๐-๖)  (Buddhism in Asia)

๑๐๑ ๔๐๖              พุทธศิลปะ              ๒(๒-๐-๔)  (Buddhist Arts)

๑๐๑ ๔๐๗              ธรรมะภาคภาษาอังกฤษชั้นสูง                ๒(๒-๐-๔)  (Dhamma in Advanced English)

๑๐๑ ๔๐๘              ศึกษาศาสตร์ในพระไตรปิฎก ๓(๓-๐-๖)  (Education in Tipitaka)

๑๐๑ ๔๐๙              จิตวิทยาในพระไตรปิฎก        ๓(๓-๐-๖)  (Psychology in Tipitaka)

๑๐๑ ๔๑๐              อักษรจารึกในพระไตรปิฎก    ๒(๒-๐-๔)  (Tipitaka Scripts)

๑๐๑ ๔๑๑              สัมมนาพระพุทธศาสนา         ๒(๒-๐-๔)  (Seminar on Buddhism)

๑๐๑ ๔๑๓              รัฐศาสตร์ในพระไตรปิฎก      ๒(๒-๐-๔)  (Political Science in Tipitaka)

 

                ข.            วิชาเลือก ๑๘ หน่วยกิต

๑๐๑ ๓๑๐              ชาดกศึกษา              ๒(๒-๐-๔)  (Jataka Studies)

๑๐๑ ๓๑๑              ธรรมบทศึกษา         ๒(๒-๐-๔)  (Dhammapada Studies)

๑๐๑ ๓๑๕              การเผยแผ่ศาสนาในประเทศไทย          ๒(๒-๐-๔)  (Propagation of Religions in Thailand)

๑๐๑ ๔๑๒             สังคมวิทยาในพระไตรปิฎก   ๒(๒-๐-๔)  (Sociology in Tipitaka)

๑๐๑ ๔๑๔              สัมมนาพระพุทธศาสนาภาคภาษาอังกฤษ          ๒(๒-๐-๔)  (Seminar on Buddhism in English)

๑๐๑ ๔๑๕              เศรษฐศาสตร์ในพระไตรปิฎก                ๒(๒-๐-๔)  (Economics in Tipitaka)

๑๐๑ ๔๑๖              พุทธประวัติในพระไตรปิฎก  ๒(๒-๐-๔)  (Life of the Buddha in Tipitaka)

๑๐๒ ๓๑๑             มิลินทปัญหาวิเคราะห์            ๒(๒-๐-๔)  (Analytical Studies of Milindapanha)

๑๐๒ ๓๑๒            มังคลัตถทีปนีวิเคราะห์           ๒(๒-๐-๔)  (Analytical Studies of Mangalatthadipani)

๑๐๒ ๔๐๕             พระไตรปิฎกสัมพันธ์             ๒(๒-๐-๔)  (Relation of Tipitaka)

๑๐๒ ๔๐๖             วิสุทธิมัคควิเคราะห์                ๒(๒-๐-๔)  (Analytical Studies of Visuddhimagga)

๑๐๓ ๓๐๒             พระพุทธศาสนากับปรัชญา    ๒(๒-๐-๔)  (Buddhism and Philosophy)

๑๐๓ ๔๐๑              พุทธปรัชญามหายาน ๑          ๒(๒-๐-๔)  (Mahayana Philosophy I)

 

๓. หมวดวิชาเลือกเสรี ๖ หน่วยกิต

                นิสิตสาขาวิชาพระพุทธศาสนา วิชาเอกเดี่ยว ต้องเลือกศึกษารายวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นวิชาเลือกเสรี จำนวน ๖ หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

----------------------------------------------------------------

 

หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชาพระอภิธรรม คณะพุทธศาสตร์

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

หลักสูตรใหม่ พุทธศักราช ๒๕๔๒

 

๑. ชื่อหลักสูตร

                ๑.๑          ชื่อหลักสูตรภาษาไทย             :               หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพระอภิธรรม

                ๑.๒         ชื่อหลักสูตรภาษาอังกฤษ        :               Bachelor of Arts Programme in Abhidhamma Studies

๒. ชื่อปริญญา

                ๒.๑         ชื่อเต็มภาษาไทย                     :               พุทธศาสตรบัณฑิต (พระอภิธรรม)       

                                ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ :               Bachelor of Arts (Abhidhamma Studies)

                ๒.๒        ชื่อย่อภาษาไทย                       :               พธ.บ. (พระอภิธรรม)

                                ชื่อย่อภาษาอังกฤษ                  :               B.A. (Abhidhamma Studies)

๓. หน่วยงานที่รับผิดชอบ

                ภาควิชาพระพุทธศาสนา คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

๔. วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

                ๔.๑         เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ความชำนาญในการใช้ภาษาไทย

                ๔.๒        เพื่อผลิตบัณฑิตให้สามารถสอนภาษาไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ

                ๔.๓        เพื่อผลิตบัณฑิตให้สามารถใช้ความรู้ภาษาไทยในการศึกษาค้นคว้าและเผยแพร่พระพุทธศาสนา

๕. โครงสร้างหลักสูตร

โครงสร้างที่ ๑ วิชาเอก - โท

                ๑.            หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                                                             ๓๐          หน่วยกิต

                ๒.           หมวดวิชาเฉพาะ                                                                     ๑๑๔       หน่วยกิต

                                ๒.๑         วิชาแกนพระพุทธศาสนา                                        ๕๐          หน่วยกิต

                                ๒.๒        วิชาเฉพาะด้าน                                                        ๖๔          หน่วยกิต

                                                ๒.๒.๑    วิชาเอก                                                    ๔๖          หน่วยกิต

                                                ๒.๒.๒   วิชาโท                                                     ๑๘          หน่วยกิต

                ๓.            หมวดวิชาเลือกเสรี                                                 ๖             หน่วยกิต

                                                                                                                รวม         ๑๕๐       หน่วยกิต

 

โครงสร้างที่ ๒ วิชาเอกเดี่ยว

                ๑.            หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                                                             ๓๐          หน่วยกิต

                ๒.           หมวดวิชาเฉพาะ                                                                     ๑๑๔       หน่วยกิต

                                ๒.๑         วิชาแกนพระพุทธศาสนา                                        ๕๐          หน่วยกิต

                                ๒.๒        วิชาเฉพาะด้าน                                                        ๖๔          หน่วยกิต

                                                ๒.๒.๑    วิชาบังคับ                                                ๓๘          หน่วยกิต

                                                ๒.๒.๒   วิชาเลือก                                                 ๒๖          หน่วยกิต

                ๓.            หมวดวิชาเลือกเสรี                                                 ๖             หน่วยกิต

                                                                                                                รวม         ๑๕๐       หน่วยกิต

รายวิชาในหลักสูตร

                ๕.๑         หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ๓๐ หน่วยกิต

                                ดูรายละเอียดในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ในสาขาวิชาพระพุทธศาสนา คณะพุทธศาสตร์

                ๕.๒        วิชาแกนพระพุทธศาสนา ๕๐ หน่วยกิต

                ให้นิสิตศึกษาวิชาแกนพระพุทธศาสนา ๕๐ หน่วยกิต ประกอบด้วย กลุ่มวิชาภาษาบาลี ๘ หน่วยกิต กลุ่มวิชาพระพุทธศาสนา ๓๒ หน่วยกิต ดังมีรายละเอียดในวิชาแกนพระพุทธศาสนา ในสาขาวิชาพระพุทธศาสนา และ วิชาแกนพระพุทธศาสนาประยุกต์ด้านพระอภิธรรม  อีก ๑๐ หน่วยกิต ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

                                ๑๐๑ ๓๐๑              พระพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์             ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๓๗๑              อภิธรรมประยุกต์    ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๔๐๑              นิเวศวิทยาในพระไตรปิฎก    ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๔๐๒             สาธาราณสุขในพระไตรปิฎก ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๔๘๑              จิตวิทยาในพระอภิธรรม        ๒(๒-๐-๔)

                ๕.๓        วิชาเอก ๘๘ หน่วยกิต

                                ๕.๓.๑ กลุ่มวิชาบังคับ ๔๒ หน่วยกิต

                                ๑๐๑ ๑๐๖               พระอภิธัมมัตถสังคหะเบื้องต้น             ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๑๖๑               จิตตสังคหวิภาค      ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๒๐๖              เจตสิกสังคหวิภาค  ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๒๖๑              ปกิณณกสังคหวิภาค               ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๓๖๐              วิถีสังคหวิภาค         ๓(๓-๐-๖)

                                ๑๐๑ ๓๖๑              วิถีมุตตสังคหวิภาค  ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๓๖๒             รูปสังคหวิภาคและนิพพาน    ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๓๖๓              สมุจจยสังคหวิภาค ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๓๖๔              ปัจจยสังคหวิภาค    ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๓๖๕              กัมมัฏฐานสังคหวิภาค            ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๓๖๖              สัมมนาพระอภิธรรม              ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๔๖๐              คัมภีร์ธัมมสังคณี    ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๔๖๑              คัมภีร์วิภังค์             ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๔๖๒             คัมภีร์ธาตุกถา          ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๔๖๓              คัมภีร์บุคคลบัญญัติ ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๔๖๔              คัมภีร์กถาวัตถุ         ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๔๖๐              คัมภีร์ยมก               ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๔๖๕              คัมภีร์ปัฏฐาน          ๒(๒-๐-๔)

                                ๕.๓.๒ กลุ่มวิชาเลือก ๖ หน่วยกิต

                                ๑๐๑ ๓๖๙              วิธีวิจัยตามหลักพระอภิธรรม ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๓๗๐              พุทธตรรกศาสตร์    ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๓๗๒             พุทธญาณวิทยา       ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๓๗๓             พุทธอภิปรัชญา       ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๔๖๙              ธรรมนิเทศแนวพระอภิธรรม ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๔๗๐              พระอภิธรรมกับสังคมศาสตร์ ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๔๗๑              พระอภิธรรมในวรรณคดีบาลี ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๔๗๒             คัมภีร์อภิธัมมาวตาร                ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๔๗๓             พระอภิธรรมในพระสุตตันตปิฎก          ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๔๗๔             พระอภิธรรมในนิกายอื่น       ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๔๗๗             พุทธปรัชญาประยุกต์              ๒(๒-๐-๔)

                                ๓๐๔ ๓๐๓            พุทธจิตวิทยา           ๒(๒-๐-๔)

 

                วิชาโท ๑๘ หน่วยกิต

                นิสิตวิชาเอกพระอภิธรรม ตามแผน ก. ต้องศึกษาวิชาโท ภาษาบาลี ในสาขาวิชาภาษาบาลีคณะพุทธศาสตร์ หรือวิชาโทสาขาอื่น สาขาใดสาขาหนึ่งที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จำนวนไม่น้อยกว่า ๑๘ หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

 

                ๑๕.๔      หมวดวิชาเลือกเสรี ๖ หน่วยกิต

                นิสิตวิชาเอกพระอภิธรรม ตามแผน ก. ต้องเลือกศึกษารายวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นวิชาเลือกเสรี จำนวนไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

                หมวดวิชาภาษาอังกฤษเสริม (๘) หน่วยกิต   (บังคับเรียนโดยไม่นับหน่วยกิต)

                                ๓๐๒ ๓๐๑             การฟังการพูดภาษาอังกฤษ ๑                  ๒(๒-๐-๔)

                                ๓๐๒ ๓๐๔            การฟังและการพูดภาษาอังกฤษ ๒          ๒(๒-๐-๔)

                                ๓๐๒ ๔๐๒            การฟังและการพูดภาษาอังกฤษ ๓          ๒(๒-๐-๔)

                                ๓๐๒ ๔๑๙             ภาษาอังกฤษเพื่อการประชาสัมพันธ์      ๒(๒-๐-๔)

 

                ๑๕.๕      วิชาโท ไม่น้อยกว่า ๑๘ หน่วยกิต

                นิสิตสาขาวิชาพระอภิธรรม ต้องศึกษาวิชาโทภาษาบาลีในสาขาวิชาภาษาบาลีคณะพุทธพุทธศาสตร์ หรือวิชาโทสาขาวิชาอื่นสาขาหนึ่งที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จำนวนไม่น้อยกว่า ๑๘ หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

                ๑๕.๖ วิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต

                นิสิตสาขาวิชาพระอภิธรรม ต้องเลือกศึกษารายวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นวิชาเลือกเสรี จำนวนไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

คำอธิบายรายวิชา  วิชาแกนพุทธศาสนาประยุกต์ ๑๐ หน่วยกิต

๑๐๑ ๓๐๑              พระพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์             ๒(๒-๐-๔)  (Buddhism and Science)

๑๐๑ ๓๗๑              อภิธรรมประยุกต์    ๒(๒-๐-๔)  (Applied Abhidhamma)

๑๐๑ ๔๐๑              นิเวศวิทยาในพระไตรปิฎก    ๒(๒-๐-๔)  (Ecology in Tipitaka)

๑๐๑ ๔๐๒             สาธารณสุขในพระไตรปิฎก  ๒(๒-๐-๔)  (Health Care in Tipitaka)

๑๐๑ ๔๘๑              จิตวิทยาในพระอภิธรรม        ๒(๒-๐-๔)  (Psychology in Abhidhamma)

วิชาเอก ๔๘ หน่วยกิต

๑๐๑ ๑๖๐               พระอภิธัมมัตถสังคหะเบื้องต้น       ๒(๒-๐-๔)  (Introduction to Abhidhammattha Sangaha)

๑๐๑ ๑๖๑               จิตตสังคหวิภาค      ๒(๒-๐-๔)  (Citta - Sangahavibhaga)

๑๐๑ ๒๖๐              เจตสิกสังคหวิภาค  ๒(๒-๐-๔)  (Cetasika - Sangahavibhaga)

๑๐๑ ๒๖๑              ปกิณณกสังคหวิภาค               ๒(๒-๐-๔) (Pakinnaka - Sangahavibhaga)

๑๐๑ ๓๖๐              วิถีสังคหวิภาค         ๓(๓-๐-๖)  (Vithi - Sangahavibhaga)

๑๐๑ ๓๖๑              วิถีมุตตสังคหวิภาค  ๒(๒-๐-๔)  (Vithimutta - Sangahavibhaga)

๑๐๑ ๓๖๒             รูปสังคหวิภาคและนิพพาน    ๒(๒-๐-๔)  (Rupa - Sangahavibhaga and Nibbana)

๑๐๑ ๓๖๓              สมุจจยสังคหวิภาค ๒(๒-๐-๔)  (Samuccaya - Sangahavibhaga)

๑๐๑ ๓๖๔              ปัจจยสังคหวิภาค    ๓(๓-๐-๖)  (Paccaya - Sangahavibhaga)

๑๐๑ ๓๖๕              กัมมัฏฐานสังคหวิภาค            ๒(๒-๐-๔)  (Kammatthana - Sangahavibhaga)          

๑๐๑ ๓๖๖              สัมมนาพระอภิธรรม              ๒(๒-๐-๔)  (Seminar on Abhidhamma)

๑๐๑ ๓๖๗              วิธีศึกษาพระอภิธรรมปิฎกด้วยหลักเนตติ  ๑(๑-๐-๒)  (Netti Methods of Abhidhamma Study)

๑๐๑ ๓๖๘              พระอภิธรรมในพระวินัยปิฎก               ๒(๒-๐-๔)  (Abhidhamma in Vinaya Pitaka)

๑๐๑ ๓๖๙              วิธีวิจัยตามหลักพระอภิธรรม                 ๒(๒-๐-๔)  (Methods of Research in Abhidhamma)

๑๐๑ ๓๗๐              พุทธตรรกศาสตร์    ๒(๒-๐-๔)  (Buddhist Logic)

๑๐๑ ๓๗๒             พุทธญาณวิทยา       ๒(๒-๐-๔)  (Buddhist Epistemology)

๑๐๑ ๓๗๓             พุทธอภิปรัชญา       ๒(๒-๐-๔)  (Buddhist Metaphysics)

๑๐๑ ๔๖๐              คัมภีร์ธัมมสังคณี    ๒(๒-๐-๔)  (Dhammasangani)

๑๐๑ ๔๖๑              คัมภีร์วิภังค์                             ๒(๒-๐-๔)  (Vibhanga)

๑๐๑ ๔๖๒             คัมภีร์ธาตุกถา                          ๓(๓-๐-๖)  (Dhatukatha)

๑๐๒ ๔๖๓             คัมภีร์ปุคคลบัญญัติ ๒(๒-๐-๔)  (Puggalapannatti)

๑๐๑ ๔๖๔              คัมภีร์กถาวัตถุ                         ๓(๓-๐-๖)  (Kathavatthu)

๑๐๑ ๔๖๕              คัมภีร์ยมก                               ๓(๓-๐-๖)  (Yamaka)

๑๐๑ ๔๖๖              คัมภีร์ปัฏฐาน                          ๒(๒-๐-๔)  (Patthana)

๑๐๑ ๔๖๙              ธรรมนิเทศแนวพระอภิธรรม ๒(๒-๐-๔)  (Abhidhama Communication)

๑๐๑ ๔๗๐              พระอภิธรรมกับสังคมศาสตร์ ๒(๒-๐-๔)  (Abhidhamma and Social Science)

๑๐๑ ๔๗๑              พระอภิธรรมในวรรณคดีบาลี ๒(๒-๐-๔)  (Abhidhamma in Pali Literature)

๑๐๑ ๔๗๒             คัมภีร์อภิธัมมาวตาร                ๒(๒-๐-๔)  (Abhidhammavatara)

๑๐๑ ๔๗๓             พระอภิธรรมในพระสุตตันตปิฎก          ๒(๒-๐-๔)  (Abhidhamma in Suttanta Pitaka)

๑๐๑ ๔๗๔             พระอภิธรรมในนิกายอื่น       ๒(๒-๐-๔)  (Abhidhamma in Othters Schools)

๑๐๑ ๔๗๕             วิธีสอนพระอภิธรรม              ๒(๒-๐-๔)  (Methods Of Abhidhamma Teaching)

๑๐๑ ๔๗๖              ปรัชญาพระอภิธรรม               ๒(๒-๐-๔)  (Abhidhamma Philosophy)

๑๐๑ ๔๗๗             พุทธปรัชญาประยุกต์              ๒(๒-๐-๔)  (Applied Buddhist Philosophy)

๑๐๖ ๔๐๕              พระไตรปิฎกสัมพันธ์             ๒(๒-๐-๔)  (Relation of Tipitaka)

๑๐๓ ๔๑๘             การศึกษาเฉพาะเรื่องในพุทธปรัชญา     ๒(๒-๐-๔)  (Case study in Buddhist Philosophy)

๓๑๐ ๔๐๔             ศิลปะการใช้ภาษาทางพุทธศาสนา          ๒(๒-๐-๔)  (Arts of Language Use in Buddhism)

๓๐๔ ๓๑๕            สุขภาพจิต                               ๒(๒-๐-๔)  (Mental Health)

๓๐๔ ๔๑๙             จิตวิทยาพระนิพพาน              ๒(๒-๐-๔)  (Nibhana Psychology)

 

วิชาโท ๑๘ หน่วยกิต

๑๐๑ ๓๐๓              หลักพุทธธรรม ๑    ๓(๓-๐-๖)  (Essence of Buddhadhamma I)

๑๐๑ ๓๐๔              พุทธปรัชญาเถรวาท                ๓(๓-๐-๖)  (Theravada Philosophy)

๑๐๑ ๓๐๕              พระพุทธศาสนากับภูมิปัญญาไทย         ๒(๒-๐-๔)  (Buddhism and Thai Thoughts)

๑๐๑ ๓๐๖              พุทธธรรมกับสังคมไทย         ๓(๓-๐-๖)  (Buddhadhamma and Thai Society)

๑๐๑ ๓๐๗              หลักพุทธธรรม ๒   ๓(๓-๐-๖)  (Essence of Buddhadhamma II)

๑๐๑ ๓๐๘              พระสูตรมหายาน   ๓(๓-๐-๖)  (Mahayana Sutras)

๑๐๑ ๓๐๙              พระพุทธศาสนามหายาน       ๓(๓-๐-๖)  (Mahayana Buddhism)

๑๐๑ ๓๑๐              ชาดกศึกษา                              ๒(๒-๐-๖)  (Jataka Studies)

๑๐๑ ๓๑๑              ธรรมบทศึกษา                         ๒(๒-๐-๔)  (Dhammapada Studies)

๑๐๑ ๓๑๒             พระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน             ๒(๒-๐-๔)  (Buddhism in Contemporary World)

๑๐๑ ๓๑๓              ชีวิตและผลงานของปราชญ์ทางพระพุทธศาสนา   ๒(๒-๐-๔)  (Life and Works of Buddhist Scholars)

๑๐๑ ๓๑๔              ปัญหาพระพุทธศาสนาในปัจจุบัน         ๒(๒-๐-๔)  (Current Problems of Buddhism)

๑๐๑ ๓๑๕              การเผยแผ่ศาสนาในประเทศไทย          ๒(๒-๐-๔)  (Propagation of Religion in Thailand)

๑๐๑ ๔๐๔              เปรียบเทียบเถรวาทกับมหายาน      ๒(๒-๐-๔)   (Comparison between Theravada and Mahayana)

๑๐๑ ๔๐๕              พระพุทธศาสนาในเอเชีย       ๒(๒-๐-๔)  (Buddhism in Asia)

๑๐๑ ๔๐๖              พุทธศิลปะ                              ๒(๒-๐-๔)  (Buddhist Arts)

๑๐๑ ๔๐๗              ธรรมะภาคภาษาอังกฤษชั้นสูง                ๒(๒-๐-๔)  (Dhamma in Advanced English)

๑๐๑ ๔๐๘              ศึกษาศาสตร์ในพระไตรปิฎก ๓(๓-๐-๖)  (Education in Tipitaka)

๑๐๑ ๔๐๙              จิตวิทยาในพระไตรปิฎก        ๓(๓-๐-๖)  (Psychology in Tipitaka)

๑๐๑ ๔๑๐              อักษรจารึกในพระไตรปิฎก    ๒(๒-๐-๔)  (Tipitaka Scripts)

๑๐๑ ๔๑๑              สัมมนาพระพุทธศาสนา         ๒(๒-๐-๔)  (Seminar on Buddhism)

๑๐๑ ๔๑๒             สังคมวิทยาในพระไตรปิฎก   ๒(๒-๐-๔)  (Sociology in Tipitaka)

๑๐๑ ๔๑๓              รัฐศาสตร์ในพระไตรปิฎก      ๒(๒-๐-๔)  (Political Science in Tipitaka)

๑๐๑ ๔๑๔              สัมมนาพระพุทธศาสนาภาคภาษาอังกฤษ          ๒(๒-๐-๔)  (Seminar on Buddhism in English)

๑๐๑ ๔๑๕              เศรษฐศาสตร์ในพระไตรปิฎก                ๒(๒-๐-๔)  (Economics in Tipitaka)

๑๐๑ ๔๑๖              พุทธประวัติในพระไตรปิฎก  ๒(๒-๐-๔)  (Life of the Buddha in Tipitaka)

๓. หมวดวิชาเลือกเสรี ๔ หน่วยกิต

๑๐๔ ๔๑๐              ศาสนากับวิทยาศาสตร์            ๒(๒-๐-๔)  (Religion and Science)

๑๐๔ ๔๑๑              ศาสนากับเศรษฐศาสตร์          ๒(๒-๐-๔)  (Religion and Economics)

๑๐๔ ๔๑๒             ศาสนากับรัฐศาสตร์                ๒(๒-๐-๔)  (Religion and Political Science)

๑๐๔ ๔๑๓             ศาสนากับสันติภาพ                ๒(๒-๐-๔)  (Religion and Peace)

๑๐๔ ๔๑๔             สัมมนาศาสนาภาคภาษาอังกฤษ             ๒(๒-๐-๔)  (Seminar on Religions in English)

๑๐๔ ๔๑๕             ศาสนากับนิเวศวิทยา              ๒(๒-๐-๔)  (Religion and Ecology)

๑๐๔ ๔๑๖              ศาสนากับวัฒนธรรม              ๒(๒-๐-๔)  (Religion and Culture)

๑๐๔ ๔๑๗             ศาสนากับภาวะผู้นำ                ๒(๒-๐-๔)  (Religion and Leadership)

๑๐๔ ๔๑๘             ศาสนากับการพัฒนา               ๒(๒-๐-๔)  (Religion and Development)

๑๐๔ ๔๑๙              การเผยแผ่ศาสนา    ๒(๒-๐-๔)  (Propagation of Religions)

                หมายเหตุ :              รายวิชา ๑๐๑ ๓๐๓, ๑๐๑ ๓๐๗, ๑๐๑ ๓๐๘, ๑๐๑ ๓๐๙, ๑๐๑ ๔๐๔                                                                                                ดูแนวสังเขปรายวิชาในวิชาเอกพระพุทธศาสนา

 

ส่วนรายวิชา ๑๐๓ ๑๐๖ หมวดวิชาภาษาอังกฤษเสริม (๘) หน่วยกิต

๓๐๓ ๓๐๑                             การฟังการพูดภาษาอังกฤษ ๑  ๒(๒-๐-๔)  (Lestening and Speaking I)

๓๐๓ ๓๐๑                             การฟังการพูดภาษาอังกฤษ ๒ ๒(๒-๐-๔)  (Lestening and Speaking II)

๓๐๓ ๓๐๑                             การฟังการพูดภาษาอังกฤษ ๓ ๒(๒-๐-๔)  (Lestening and Speaking III)

๓๐๓ ๓๐๑                             ภาษาอังกฤษเพื่อการประชาสัมพันธ์      ๒(๒-๐-๔)  (English for Public Relations)

------------------------------------------

หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ภาควิชาบาลีและสันสกฤต

คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

หลักสูตรใหม่ พุทธศักราช ๒๕๔๒

๑. ชื่อหลักสูตร

                ๑.๑          ชื่อหลักสูตรภาษาไทย             :               หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต

                                                                                                สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์

                ๑.๒         ชื่อหลักสูตรภาษาอังกฤษ        :               Bachelor of Arts Programme in Pali Buddhism

๒. ชื่อปริญญา

                ๒.๑         ชื่อเต็มภาษาไทย                     :               พุทธศาสตรบัณฑิต (บาลีพุทธศาสตร์)

                                ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ                 :               Bachelor of Arts (Pali Buddhism)

                ๒.๒        ชื่อย่อภาษาไทย                       :               พธ.บ. (บาลีพุทธศาสตร์)

                                ชื่อย่อภาษาอังกฤษ                  :               B.A. (Pali Buddhism)

๓. หน่วยงานที่รับผิดชอบ

                ภาควิชาบาลีและสันสกฤต คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

๔. วัตถุประสงค์

                ๔.๑         เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีความรู้แตกฉานในภาษาบาลีพระไตรปิฎก

                ๔.๒        เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีความสามารถในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา

๕. โครงสร้างหลักสูตร

วิชาเอก-โท

                ๑. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                                                         ๓๐          หน่วยกิต

                ๒. หมวดวิชาเฉพาะ                                                               ๑๑๔       หน่วยกิต

                                ๒.๑         วิชาแกนพระพุทธศาสนา                        ๕๐          หน่วยกิต

                                ๒.๒        วิชาเฉพาะด้าน                                        ๖๔          หน่วยกิต

                                                ๒.๒.๑ วิชาเอก                                       ๔๖          หน่วยกิต

                                                ๒.๒.๒ วิชาโท                                      ๑๘          หน่วยกิต

                ๓. หมวดวิชาเลือกเสรี                                                            ๖             หน่วยกิต

                                                                                                รวม         ๑๕๐       หน่วยกิต

โครงสร้างหลักสูตร วิชาเอกเดี่ยว

                                ๑. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                                         ๓๐          หน่วยกิต

                                ๒. หมวดวิชาเฉพาะ                                               ๑๑๔       หน่วยกิต

                                                ๒.๑         วิชาแกนพระพุทธศาสนา        ๕๐          หน่วยกิต

                                                ๒.๒        วิชาเฉพาะด้าน                        ๖๔          หน่วยกิต

                                                                ๒.๒.๑    วิชาบังคับ                ๔๖          หน่วยกิต

                                                                ๒.๒.๒   วิชาบังคับเลือก        ๑๘         หน่วยกิต

                                ๓. หมวดวิชาเลือกเสรี                                            ๖             หน่วยกิต

                                                                                                รวม         ๑๕๐       หน่วยกิต

 

รายวิชาในหลักสูตร    วิชาเอก-โท

                ๑   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป        ๓๐ หน่วยกิต

                                ดูรายละเอียดในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ในสาขาวิชาพระพุทธศาสนา คณะพุทธศาสตร์

                ๒   หมวดวิชาเฉพาะ              ๑๑๔ หน่วยกิต

                                ๒.๑ วิชาแกนพระพุทธศาสนา ๕๐ หน่วยกิต

                                นิสิตสาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ต้องศึกษาวิชาแกนพระพุทธศาสนา ๕๐ หน่วยกิต ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้

                                ๐๐๐ ๑๕๗              ธรรมะภาคปฏิบัติ ๑                ๒ (๒-๐-๔)

                                ๐๐๐ ๑๕๘              ธรรมะภาคปฏิบัติ ๒               ๒ (๒-๐-๔)

                                ๐๐๐ ๑๗๑              ไวยากรณ์บาลี ๑      ๓ (๓-๐-๖)

                                ๐๐๐ ๑๗๒             บาลีเพื่อการสื่อสาร ๑              ๒ (๒-๐-๔)

                                ๐๐๐ ๑๗๓              ศึกษาเปรียบเทียบบาลีไวยากรณ์ ๑         ๒ (๒-๐-๔)

                                ๐๐๐ ๑๗๔              พระอภิธรรมเบื้องต้น ๑         ๒ (๒-๐-๔)

                                ๐๐๐ ๑๗๕              ไวยากรณ์บาลี ๒     ๓ (๓-๐-๖)

                                ๐๐๐ ๑๗๖              บาลีเพื่อการสื่อสาร ๒             ๒ (๒-๐-๔)

                                ๐๐๐ ๑๗๗              ศึกษาเปรียบเทียบบาลีไวยากรณ์ ๒        ๒ (๒-๐-๔)

                                ๐๐๐ ๑๗๘              พระอภิธรรมเบื้องต้น ๒        ๒ (๒-๐-๔)

                                ๐๐๐ ๒๕๗             ธรรมะภาคปฏิบัติ ๓               ๒ (๒-๐-๔)

                                ๐๐๐ ๒๕๘             ธรรมะภาคปฏิบัติ ๔               ๒ (๒-๐-๔)

                                ๐๐๐ ๒๗๑             ไวยากรณ์บาลี ๓     ๓ (๓-๐-๖)

                                ๐๐๐ ๒๗๒            อภิธาน    ๓ (๓-๐-๖)

                                ๐๐๐ ๒๗๓             ธาตุสังคหะ             ๓ (๓-๐-๖)

                                ๐๐๐ ๒๗๔             ฉันท์บาลี ๑             ๓ (๓-๐-๖)

                                ๐๐๐ ๒๗๕             อลังการบาลี ๑         ๓ (๓-๐-๖)

                                ๐๐๐ ๒๗๖             ไวยากรณ์บาลี ๔     ๓ (๓-๐-๖)

                                ๐๐๐ ๒๗๗             ปทมาลา  ๒ (๒-๐-๔)

                                ๐๐๐ ๒๗๘             สัททัตถเภทจินตา   ๒ (๒-๐-๔)

                                ๐๐๐ ๒๗๙             คันถาภรณะ            ๒ (๒-๐-๔)

                                ๐๐๐ ๒๘๐              ฉันท์บาลี ๒            ๓ (๓-๐-๖)

                                ๐๐๐ ๒๘๑              อลังการบาลี ๒        ๓ (๓-๐-๖)

                                ๐๐๐ ๓๕๑              ธรรมะภาคปฏิบัติ ๕               ๒ (๒-๐-๔)

                                ๐๐๐ ๓๕๒             ธรรมะภาคปฏิบัติ ๖                ๒ (๒-๐-๔)

                                ๐๐๐ ๔๕๑              ธรรมะภาคปฏิบัติ ๗               ๒ (๒-๐-๔)

หมายเหตุ :  รายวิชา ๐๐๐ ๑๕๘, ๐๐๐ ๒๕๗, ๐๐๐ ๒๕๘, ๐๐๐ ๓๕๑,๐๐๐ ๓๕๒,

                                ๐๐๐ ๔๕๑, เป็นวิชาบังคับโดยไม่นับหน่วยกิต

 

                ๒.๒        วิชาเฉพาะด้าน        ๖๔ หน่วยกิต

                                ๒.๒.๑ วิชาเอก       ๔๖ หน่วยกิต

                                ๑๐๒ ๓๕๑             ภิกขุวิภังค์               ๓ (๓-๐-๖)

                                ๑๐๒ ๓๕๒            ภิกขุนีวิภังค์            ๓ (๓-๐-๖)

                                ๑๐๒ ๓๕๓            ทีฆนิกาย ๓ (๓-๐-๖)

                                ๑๐๒ ๓๕๔            มัชฌิมนิกาย            ๓ (๓-๐-๖)

                                ๑๐๒ ๓๕๕            ขุททกนิกาย ๑         ๒ (๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๓๕๖             ขุททกนิกาย ๒        ๒ (๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๓๕๗            ธัมมสังคณีและวิภังค์              ๓ (๓-๐-๖)

                                ๑๐๒ ๓๕๘            ธาตุกถาและปุคคลบัญญัติ       ๓ (๓-๐-๖)

                                ๑๐๒ ๔๕๑             มหาวรรค                ๓ (๓-๐-๖)

                                ๑๐๒ ๔๕๒            จุลวรรคและปริวาร  ๓ (๓-๐-๖)

                                ๑๐๒ ๔๕๓            สังยุตตนิกาย           ๓ (๓-๐-๖)

                                ๑๐๒ ๔๕๔            อังคุตตรนิกาย         ๒ (๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๔๕๕            ขุททกนิกาย ๓        ๒ (๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๔๕๖             ขุททกนิกาย ๔        ๒ (๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๔๕๗            กถาวัตถุ   ๓ (๓-๐-๖)

                                ๑๐๒ ๔๕๘            ยมก         ๓ (๓-๐-๖)

                                ๑๐๒ ๔๕๙             ปัฏฐาน    ๓ (๓-๐-๖)

 

                ๒.๒.๒ วิชาโท ๑๘ หน่วยกิต

                นิสิตสาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ต้องศึกษาวิชาโทสาขาอื่น สาขาใดสาขาหนึ่ง ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จำนวน ๑๘ หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของ อาจารย์ที่ปรึกษา

                นิสิตที่ประสงค์จะเลือกศึกษาวิชาบาลีพุทธศาสตร์เป็นวิชาโท จะต้องศึกษารายวิชาบาลีพุทธศาสตร์ จำนวน ๑๘ หน่วยกิต ตามองค์ประกอบดังต่อไปนี้

                วิชาบังคับ                ๑๒ หน่วยกิต    คือ                 ๐๐๐ ๑๗๑, ๐๐๐ ๑๗๕, ๐๐๐ ๒๗๑, ๐๐๐ ๒๗๖

                วิชาบังคับเลือก ๖ หน่วยกิต

                ให้เลือกศึกษาในรายวิชาต่างๆ ในสาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

๓. หมวดวิชาเลือกเสรี ๖ หน่วยกิต

                นิสิตสาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ต้องเลือกศึกษารายวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นวิชาเลือกเสรี จำนวน ๖ หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

รายวิชาในหลักสูตร   วิชาเอกเดี่ยว

                ๑.            หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ๓๐ หน่วยกิต

                                ดูรายละเอียดในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ในสาขาวิชาพระพุทธศาสนา คณะพุทธศาสตร์

                ๒.           หมวดวิชาเฉพาะ     ๑๑๔  หน่วยกิต

                                ๒.๑         วิชาแกนพระพุทธศาสนา ๕๐ หน่วยกิต

                                นิสิตสาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ต้องศึกษาวิชาแกนพระพุทธศาสนา ๕๐ หน่วยกิต ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้

๐๐๐ ๑๕๗   ธรรมะภาคปฏิบัติ ๑           ๒ (๒-๐-๔)

๐๐๐ ๑๕๘   ธรรมะภาคปฏิบัติ ๒           ๒ (๒-๐-๔)

๐๐๐ ๑๗๑   ไวยากรณ์บาลี ๑               ๓ (๓-๐-๖)

๐๐๐ ๑๗๒   บาลีเพื่อการสื่อสาร ๑        ๒ (๒-๐-๔)

๐๐๐ ๑๗๓   ศึกษาเปรียบเทียบบาลีไวยากรณ์ ๑      ๒ (๒-๐-๔)

๐๐๐ ๑๗๔   พระอภิธรรมเบื้องต้น ๑    ๒ (๒-๐-๔)

๐๐๐ ๑๗๕   ไวยากรณ์บาลี ๒               ๓ (๓-๐-๖)

๐๐๐ ๑๗๖   บาลีเพื่อการสื่อสาร ๒        ๒ (๒-๐-๔)

๐๐๐ ๑๗๗   ศึกษาเปรียบเทียบบาลีไวยากรณ์ ๒  ๒ (๒-๐-๔)

๐๐๐ ๑๗๘   พระอภิธรรมเบื้องต้น ๒   ๒ (๒-๐-๔)

๐๐๐ ๒๕๗   ธรรมะภาคปฏิบัติ ๓         ๒ (๒-๐-๔)

๐๐๐ ๒๕๘   ธรรมะภาคปฏิบัติ ๔         ๒ (๒-๐-๔)

๐๐๐ ๒๗๑   ไวยากรณ์บาลี ๓               ๓ (๓-๐-๖)

๐๐๐ ๒๗๒   อภิธาน             ๓ (๓-๐-๖)

๐๐๐ ๒๗๓   ธาตุสังคหะ       ๓ (๓-๐-๖)

๐๐๐ ๒๗๔   ฉันท์บาลี ๑       ๓ (๓-๐-๖)

๐๐๐ ๒๗๕   อลังการบาลี ๑   ๓ (๓-๐-๖)

๐๐๐ ๒๗๖   ไวยากรณ์บาลี ๔               ๓ (๓-๐-๖)

๐๐๐ ๒๗๗   ปทมาลา            ๒ (๒-๐-๔)

๐๐๐ ๒๗๘   สัททัตถเภทจินตา             ๒ (๒-๐-๔)

๐๐๐ ๒๗๙   คันถาภรณะ       ๒ (๒-๐-๔)

๐๐๐ ๒๘๐   ฉันท์บาลี ๒       ๓ (๓-๐-๖)

๐๐๐ ๒๘๑   อลังการบาลี ๒   ๓ (๓-๐-๖)

๐๐๐ ๓๕๑   ธรรมะภาคปฏิบัติ ๕          ๒ (๒-๐-๔)

๐๐๐ ๓๕๒   ธรรมะภาคปฏิบัติ ๖          ๒ (๒-๐-๔)

๐๐๐ ๔๕๑   ธรรมะภาคปฏิบัติ ๗          ๒ (๒-๐-๔)

 

หมายเหตุ :              รายวิชา ๐๐๐ ๑๕๘, ๐๐๐ ๒๕๗, ๐๐๐ ๒๕๘, ๐๐๐ ๓๕๑,

                                ๐๐๐ ๓๕๒, ๐๐๐ ๔๕๑, เป็นวิชาบังคับโดยไม่นับหน่วยกิต

 

                ๒.๒        วิชาเฉพาะด้าน ๖๔ หน่วยกิต

                                ๑) วิชาบังคับ ๔๖ หน่วยกิต

๑๐๒ ๓๕๑             ภิกขุวิภังค์               ๓ (๓-๐-๖)

๑๐๒ ๓๕๒            ภิกขุนีวิภังค์            ๓ (๓-๐-๖)

๑๐๒ ๓๕๓            ทีฆนิกาย                 ๓ (๓-๐-๖)

๑๐๒ ๓๕๔            มัชฌิมนิกาย            ๓ (๓-๐-๖)

๑๐๒ ๓๕๕            ขุททกนิกาย ๑         ๒ (๒-๐-๔)

๑๐๒ ๓๕๖             ขุททกนิกาย ๒        ๒ (๒-๐-๔)

๑๐๒ ๓๕๗            ธัมมสังคณีและวิภังค์              ๓ (๓-๐-๖)

๑๐๒ ๓๕๘            ธาตุกถาและปุคคลบัญญัติ       ๓ (๓-๐-๖)

 

๑๐๒ ๔๕๑             มหาวรรค                ๓ (๓-๐-๖)

๑๐๒ ๔๕๒            จุลวรรคและปริวาร  ๓ (๓-๐-๖)

๑๐๒ ๔๕๓            สังยุตตนิกาย           ๓ (๓-๐-๖)

๑๐๒ ๔๕๔            อังคุตตรนิกาย         ๒ (๒-๐-๔)

๑๐๒ ๔๕๕            ขุททกนิกาย ๓        ๒ (๒-๐-๔)

๑๐๒ ๔๕๖             ขุททกนิกาย ๔        ๒ (๒-๐-๔)

๑๐๒ ๔๕๗            กถาวัตถุ   ๓ (๓-๐-๖)

๑๐๒ ๔๕๘            ยมก         ๓ (๓-๐-๖)

๑๐๒ ๔๕๙             ปัฏฐาน    ๓ (๓-๐-๖)

                                ๒) วิชาบังคับเลือก ๑๘ หน่วยกิต           ให้เลือกศึกษาวิชาต่าง ๆ ในกลุ่มวิชา ดังนี้

                                                ๑) กลุ่มวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๒ หน่วยกิต            

๑๐๒ ๓๕๙             ธรรมบทวิเคราะห์   ๒ (๒-๐-๔)

๑๐๒ ๓๖๐             ปทวิจาร   ๒ (๒-๐-๔)

๑๐๒ ๓๖๑             ฉันทวิจารณ์            ๓ (๓-๐-๖)

๑๐๒ ๓๖๒            วากยสังสยทีปนี      ๒ (๒-๐-๔)

๑๐๒ ๓๖๓               เปรียบเทียบธาตุ      ๓ (๓-๐-๖)

๑๐๒ ๔๖๐                หลักและวิธีอธิบายคัมภีร์นัยคัมภีร์อรรถกถา-ฎีกา  ๓ (๓-๐-๖)

๑๐๒ ๔๖๑                หลักและวิธีถ่ายทอดภาษา       ๓ (๓-๐-๖)

๑๐๒ ๔๖๒               ปัญหาวิสัชชนาสมันตปาสาทิกา             ๓ (๓-๐-๖)

                                                ๒) กลุ่มวิชาพระพุทธศาสนา ๖ หน่วยกิต

๑๐๑ ๓๐๔   พุทธปรัชญาเถรวาท           ๒ (๒-๐-๔

๑๐๑ ๓๐๖   พุทธธรรมกับสังคมไทย    ๒ (๒-๐-๔)

๑๐๑ ๓๑๑   มิลินทปัญหาวิเคราะห์       ๒ (๒-๐-๔)

๑๐๑ ๓๑๓   ชีวิตและผลงานของปราชญ์ทางพระพุทธศาสนา                ๒ (๒-๐-๔)

๑๐๑ ๓๑๕   การเผยแผ่ศาสนาในประเทศไทย     ๒(๒-๐-๔)

๑๐๑ ๔๐๔  เปรียบเทียบเถรวาทกับมหายาน        ๒ (๒-๐-๔)

๑๐๑ ๔๐๖   พุทธศิลปะ          ๒ (๒-๐-๔)

๑๐๒ ๔๐๕   พระไตรปิฎกสัมพันธ์      ๒ (๒-๐-๔)

๑๐๒ ๔๐๖   วิสุทธิมรรควิเคราะห์         ๒ (๒-๐-๔)

                ๓. หมวดวิชาเลือกเสรี ๖ หน่วยกิต

                นิสิตสาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ต้องเลือกศึกษารายวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นวิชาเลือกจำนวน ๖ หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

คำอธิบายรายวิชา   วิชาเอก-โท

๑. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ๓๐ หน่วยกิต

                ดูรายละเอียดในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ในสาขาวิชาพระพุทธศาสนา คณะพุทธศาสตร์

๒. หมวดวิชาเฉพาะ ๑๑๔ หน่วยกิต

                ๒.๑         วิชาแกนพระพุทธศาสนา ๕๐ หน่วยกิต

                                นิสิตสาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ต้องศึกษาวิชาแกนพระพุทธศาสนา ๕๐ หน่วยกิต ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้

๐๐๐ ๑๕๗              ธรรมะภาคปฏิบัติ ๑                ๒(๒-๐-๔)  (Buddhist Meditation I)

๐๐๐ ๑๕๘              ธรรมะภาคปฏิบัติ ๒               ๒(๒-๐-๔)  (Buddhist Meditation II)

๐๐๐ ๑๗๑              ไวยากรณ์บาลี ๑      ๓ (๓-๐-๖)  (Pali Grammar I)

๐๐๐ ๑๗๒             บาลีเพื่อการสื่อสาร ๑              ๒ (๒-๐-๔)  (Pali For Communication I)

๐๐๐ ๑๗๓              ศึกษาเปรียบเทียบบาลีไวยากรณ์ ๑         ๒ (๒-๐-๔)  (Comparative Study of Pali Grammar I)                   ๐๐๐ ๑๗๔       พระอภิธรรมเบื้องต้น ๑         ๓ (๓-๐-๖)  (Introduction to Abhidhamma I)

๐๐๐ ๑๗๕              ไวยากรณ์บาลี ๒     ๓ (๓-๐-๖)  (Pali Grammar II)

๐๐๐ ๑๗๖              บาลีเพื่อการสื่อสาร                 ๒ (๒-๐-๔)  (Pali for Communication II)

๐๐๐ ๑๗๗              ศึกษาเปรียบเทียบบาลีไวยากรณ์ ๒        ๒(๒-๐-๔)  (Comparative Study of Pali Grammar II)

๐๐๐ ๑๗๘              พระอภิธรรมเบื้องต้น             ๒(๒-๐-๔)  (Introduction to Abhidhamma II)

๐๐๐ ๒๕๗             ธรรมะภาคปฏิบัติ ๓               ๒(๒-๐-๔)  (Buddhist Meditation III)

๐๐๐ ๒๕๘             ธรรมะภาคปฏิบัติ ๔               ๒(๒-๐-๔)  (Buddhist Meditation IV)

๐๐๐ ๒๗๑             ไวยากรณ์บาลี ๓     ๓ (๓-๐-๖)  (Pali Grammar III)

๐๐๐ ๒๗๒            อภิธาน                    ๓ (๓-๐-๖)  (Abhidhana)

๐๐๐ ๒๗๓             ธาตุสังคหะ                             ๓ (๓-๐-๖)  (Dhatusangaha)

๐๐๐ ๒๗๔             ฉันท์บาลี ๑                             ๓ (๓-๐-๖)  (Pali Poem I)

๐๐๐ ๒๗๕             อลังการบาลี ๑                         ๓ (๓-๐-๖)  (Pali Alankara I)

๐๐๐ ๒๗๖             ไวยากรณ์บาลี ๔     ๓ (๓-๐-๖)  (Pali Grammar IV)

๐๐๐ ๒๗๗             ปทมาลา                  ๒ (๒-๐-๔)  (Padamala)

๐๐๐ ๒๗๘             สัททัตถเภทจินตา   ๒ (๒-๐-๔)  (Saddatthabhedacinta)

๐๐๐ ๒๗๙             คันถาภรณะ                            ๒ (๒-๐-๔)  (Ganthabharana II)

๐๐๐ ๒๘๐              ฉันท์บาลี ๒                            ๒ (๒-๐-๔)  (Pali Alankara II)            

๐๐๐ ๒๘๑              อลังการบาลี ๒        ๒ (๒-๐-๔)  (Pali Alankara II)

๐๐๐ ๓๕๑              ธรรมะภาคปฏิบัติ ๕               ๒(๒-๐-๔)  (Buddhist Meditation V)

๐๐๐ ๓๕๒             ธรรมะภาคปฏิบัติ ๖                ๒(๒-๐-๔)  (Buddhist Meditation VI)

๐๐๐ ๔๕๑              ธรรมะภาคปฏิบัติ ๗               ๒(๒-๐-๔)  (Buddhist Meditation VII)

๒.๒        วิชาเฉพาะด้าน ๖๔ หน่วยกิต

                ๒.๒.๑ วิชาเอก ๔๖ หน่วยกิต

๑๐๒ ๓๕๑             ภิกขุวิภังค์                               ๓ (๓-๐-๖)  (Bhikkhuvibhanga)

๑๐๒ ๓๕๒            ภิกขุนีวิภังค์                            ๓ (๓-๐-๖)  (Bhikkhunivibhanga)

๑๐๒ ๓๕๓            ทีฆนิกาย                 ๓ (๓-๐-๖)  (Dighanikaya)

๑๐๒ ๓๕๔            มัชฌิมนิกาย                            ๓ (๓-๐-๖)  (Majjhimanikaya)

๑๐๒ ๓๕๕            ขุททกนิกาย ๑                         ๒ (๒-๐-๔)  (Khuddakanikaya I)

๑๐๒ ๓๕๖             ขุททกนิกาย ๒        ๒ (๒-๐-๔)  (Khuddakanikaya II)

๑๐๒ ๓๕๗            ธัมมสังคณีและวิภังค์              ๓(๓-๐-๖)  (Dhammasangni and Vibhanga

๑๐๒ ๓๕๘            ธาตุกถาและปุคคลบัญญัติ       ๓ (๓-๐-๖)  (Dhatukatha and Puggalapannati)

๑๐๒ ๔๕๑             มหาวรรค                                ๓(๓-๐-๓)  (Mahavagga)

๑๐๒ ๔๕๒            จุลวรรคและปริวาร  ๓ (๓-๐-๖)  (Cullavagga and Parivara)

๑๐๒ ๔๕๓            สังยุตตนิกาย                           ๓ (๓-๐-๖)  (Samyuttanikaya)

๑๐๒ ๔๕๔            อังคุตตรนิกาย                         ๒ (๒-๐-๔)  (Anguttaranikaya)

๑๐๒ ๔๕๕            ขุททกนิกาย ๓                        ๒ (๒-๐-๔)  (Khuddakanikaya III)                                    

๑๐๒ ๔๕๖             ขุททกนิกาย ๔                        ๒ (๒-๐-๔)  (Khuddakanikaya IV)   

๑๐๒ ๔๕๗            กถาวัตถุ                   ๓ (๓-๐-๖)  (Kathavatthu)

๑๐๒ ๔๕๘            ยมก                         ๓ (๓-๐-๖)  (Yamaka)

๑๐๒ ๔๕๙             ปัฏฐาน                    ๓ (๓-๐-๖)  (Patthana)                        

                ๒.๒.๒ วิชาโท ๑๘ หน่วยกิต

                                นิสิตสาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ต้องศึกษาวิชาโทสาขาอื่น สาขาใดสาขาหนึ่ง ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จำนวน ๑๘ หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

                                นิสิตที่ประสงค์จะเลือกศึกษาวิชาบาลีพุทธศาสตร์เป็นวิชาโท จะต้องศึกษารายวิชาบาลีพุทธศาสตร์ จำนวน ๑๘ หน่วยกิต ตามองค์ประกอบดังต่อไปนี้

                                วิชาบังคับ ๑๒ หน่วยกิต คือ   ๐๐๐ ๑๗๑, ๐๐๐ ๑๗๕, ๐๐๐ ๒๗๑, ๐๐๐ ๒๗๖

                                วิชาบังคับเลือก ๖ หน่วยกิต

                                ให้เลือกศึกษาในรายวิชาต่างๆ ในสาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

 

๓.  หมวดวิชาเลือกเสรี ๖ หน่วยกิต

                นิสิตสาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ต้องเลือกศึกษารายวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัย

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นวิชาเลือกเสรี จำนวน ๖ หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

คำอธิบายรายวิชา   วิชาเอกเดี่ยว

๑. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ๓๐ หน่วยกิต    ดูรายละเอียดในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ในสาขาวิชาพระพุทธศาสนา  คณะพุทธศาสตร์

๒. หมวดวิชาเฉพาะ๑๑๔ หน่วยกิต

                ๒.๑         วิชาแกนพระพุทธศาสนา ๕๐ หน่วยกิต

                                นิสิตสาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ต้องศึกษาวิชาแกนพระพุทธศาสนา ๕๐ หน่วยกิต ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้

๐๐๐ ๑๕๗              ธรรมะภาคปฏิบัติ ๑                ๒(๒-๐-๔)  (Buddhist Meditation I)

๐๐๐ ๑๕๘              ธรรมะภาคปฏิบัติ ๒               ๒(๒-๐-๔)  (Buddhist Meditation II)

๐๐๐ ๑๗๑              ไวยากรณ์บาลี ๑      ๓ (๓-๐-๓)  (Pali GrammarI)

๐๐๐ ๑๗๒             บาลีเพื่อการสื่อสาร ๑              ๒ (๒-๐-๔)  (Pali for Communication I)

๐๐๐ ๑๗๓              ศึกษาเปรียบเทียบบาลีไวยากรณ์ ๑         ๒ (๒-๐-๔)  (Comparative Study of Pali Grammar I)

๐๐๐ ๑๗๔              พระอภิธรรมเบื้องต้น ๑         ๓ (๓-๐-๖)  (Introduction to Abhidhamma I)

๐๐๐ ๑๗๕              ไวยากรณ์บาลี ๒     ๓ (๓-๐-๖)  (Pali Grammar II)

๐๐๐ ๑๗๖              บาลีเพื่อการสื่อสาร ๒             ๒ (๒-๐-๔)  (Pali for Communication II)

๐๐๐ ๑๗๗              ศึกษาเปรียบเทียบบาลีไวยากรณ์ ๒        ๒ (๒-๐-๔)  (Comparative Study of Pali Grammar II)

๐๐๐ ๑๗๘              พระอภิธรรมเบื้องต้น             ๒ (๒-๐-๔)  (Introduction to Abhidhamma)

๐๐๐ ๒๕๗             ธรรมะภาคปฏิบัติ ๓               ๒(๒-๐-๔)  (Buddhist Meditation III)

๐๐๐ ๒๕๘             ธรรมะภาคปฏิบัติ ๔               ๒(๒-๐-๔)  (Buddhist Meditation IV)

๐๐๐ ๒๗๑             ไวยากรณ์บาลี ๓     ๓ (๓-๐-๖(Pali Grammar III)

๐๐๐ ๒๗๒            อภิธาน                    ๓ (๓-๐-๖)  (Abhidhana)

๐๐๐ ๒๗๓             ธาตุสังคหะ                             ๓ (๓-๐-๖)  (Dhatusangaha)

๐๐๐ ๒๗๔             ฉันท์บาลี ๑                             ๓ (๓-๐-๖)  (Pali Poem I)

๐๐๐ ๒๗๕             อลังการบาลี ๑                         ๓ (๓-๐-๖)  (Pali Alankara I)

๐๐๐ ๒๗๖             ไวยากรณ์บาลี ๔     ๓ (๓-๐-๖)  (Pali Grammar IV)

๐๐๐ ๒๗๗             ปทมาลา                  ๒ (๒-๐-๔)  (Padamala)

๐๐๐ ๒๗๘             สัททัตถเภทจินตา   ๒ (๒-๐-๔)  (Saddatthabhedacinta)

๐๐๐ ๒๗๙             คันถาภรณะ                            ๒ (๒-๐-๔)  (Ganthabharana)

๐๐๐ ๒๘๐              ฉันท์บาลี ๒                            ๒ (๒-๐-๔)  (Pali Alankara II)            

๐๐๐ ๒๘๑              อลังการบาลี ๒        ๒ (๒-๐-๔)  (Pali Alankara II)

๐๐๐ ๓๕๑              ธรรมะภาคปฏิบัติ ๕               ๒(๒-๐-๔)  (Buddhist Meditation V)

๐๐๐ ๓๕๒             ธรรมะภาคปฏิบัติ ๖                ๒(๒-๐-๔)  (Buddhist Meditation VI)

๐๐๐ ๔๕๑              ธรรมะภาคปฏิบัติ ๗               ๒(๒-๐-๔)  (Buddhist Meditation VII)

 

๒.๒        วิชาเฉพาะด้าน ๖๔ หน่วยกิต

                ๑)            วิชาบังคับ ๔๖ หน่วยกิต

๑๐๒ ๓๕๑             ภิกขุวิภังค์                               ๓ (๓-๐-๖)  (Bhikkhuvibhanga)

๑๐๒ ๓๕๒            ภิกขุนีวิภังค์                            ๓ (๓-๐-๖)  (Bhikkhunivibhanga)

๑๐๒ ๓๕๓            ทีฆนิกาย                 ๓ (๓-๐-๖)  (Dighanikaya)

๑๐๒ ๓๕๔            มัชฌิมนิกาย                            ๓ (๓-๐-๖)  (Majjhimanikaya)

๑๐๒ ๓๕๕            ขุททกนิกาย ๑                         ๒ (๒-๐-๔)  (Khuddakanikaya I)

๑๐๒ ๓๕๖             ขุททกนิกาย ๒        ๒ (๒-๐-๔)  (Khuddakanikaya II)

๑๐๒ ๓๕๗            ธัมมสังคณีและวิภังค์              ๓ (๓-๐-๖)  (Dhammasangni and Vibhanga)

๑๐๒ ๓๕๘            ธาตุกถาและปุคคลบัญญัติ       ๓ (๓-๐-๖)  (Dhatukatha and Puggalapannatti)

๑๐๒ ๔๕๑             มหาวรรค                                ๓(๓-๐-๓)  (Mahavagga)

๑๐๒ ๔๕๒            จุลวรรคและปริวาร  ๓ (๓-๐-๖)  (Cullavagga and Parivara)

๑๐๒ ๔๕๓            สังยุตตนิกาย                           ๓ (๓-๐-๖)  (Samyuttanikaya)

๑๐๒ ๔๕๔            อังคุตตรนิกาย                         ๒ (๒-๐-๔)  (Anguttaranikaya)

๑๐๒ ๔๕๕            ขุททกนิกาย ๓                        ๒ (๒-๐-๔)  (Khuddakanikaya III)                                    

๑๐๒ ๔๕๖             ขุททกนิกาย ๔                        ๒ (๒-๐-๔)  (Khuddakanikaya IV)   

๑๐๒ ๔๕๗            กถาวัตถุ                   ๓ (๓-๐-๖)  (Kathavatthu)

๑๐๒ ๔๕๘            ยมก                         ๓ (๓-๐-๖)  (Yamaka)

๑๐๒ ๔๕๙             ปัฏฐาน                    ๓ (๓-๐-๖)  (Patthana)                                                                        

๒) วิชาบังคับเลือก ๑๘ หน่วยกิต

                ให้เลือกศึกษาวิชาต่าง ๆ ในกลุ่มวิชา ดังนี้

                                ๑) กลุ่มวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๒ หน่วยกิต            

๑๐๒ ๓๕๙             ธรรมบทวิเคราะห์   ๒ (๒-๐-๔)  (Dhammapada Analysis)

๑๐๒ ๓๖๐             ปทวิจาร                   ๒ (๒-๐-๔)  (Pada Vicara)

๑๐๒ ๓๖๑             ฉันทวิจารณ์                            ๓ (๓-๐-๖)  (Prosody Critique)

๑๐๒ ๓๖๒            วากยสังสยทีปนี      ๒ (๒-๐-๔)  (Vakya Samsaya Dipani)

๑๐๒ ๓๖๓             เปรียบเทียบธาตุ      ๓ (๓-๐-๖)  (Comparative Roots)

๑๐๒ ๔๖๐             หลักและวิธีอธิบายคัมภีร์นัยคัมภีร์อรรถกถา-ฎีกา  ๓ (๓-๐-๖)

                                (Pules and Method of Explanation on Commentary and Sub Commentary)

๑๐๒ ๔๖๑             หลักและวิธีถ่ายทอดภาษา       ๓ (๓-๐-๖)  (Pules and Method of Transliteration)

๑๐๒ ๔๖๒            ปัญหาวิสัชชนาสมันตปาสาทิกา      ๓ (๓-๐-๖)  (Question and Explanation and on Samantapasadika)

 

๒) กลุ่มวิชาพระพุทธศาสนา ๖ หน่วยกิต

๑๐๑ ๓๐๔              พุทธปรัชญาเถรวาท                ๓(๓-๐-๖)  (Theravada Philosophy)

๑๐๑ ๓๐๖              พุทธธรรมกับสังคมไทย         ๒(๒-๐-๔)  (Buddhadhamma and Thai society)

๑๐๑ ๓๑๓              ชีวิตและผลงานของปราชญ์ทางพระพุทธศาสนา                 ๒(๒-๐-๔)  (Life and Works of Buddhist Scholars)

๑๐๑ ๓๑๕              การเผยแผ่ศาสนาในประเทศไทย          ๒(๒-๐-๔)  (Propagation of Religions in Thailand)

๑๐๑ ๔๐๔              เปรียบเทียบเถรวาทกับมหายาน      ๒(๒-๐-๔)  (Comparison between Theravada and Mahayana)

๑๐๑ ๕๐๖              พุทธศิลปะ                              ๒(๒-๐-๔)  (Buddhist Arts)

๑๐๒ ๓๑๑             มิลินทปัญหาวิเคราะห์            ๒(๒-๐-๔)  (Analytical Studies of Milindapanha)

๑๐๒ ๔๐๕             พระไตรปิฎกสัมพันธ์             ๒(๒-๐-๔)  (Relation of Tipitaka)

๑๐๒ ๔๐๖             วิสุทธิมัคควิเคราะห์                ๒(๒-๐-๔)  (Analytical Studies of Visuddhimagga)

 

 ๓. หมวดวิชาเลือกเสรี ๖ หน่วยกิต

                นิสิตสาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ต้องเลือกศึกษารายวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นวิชาเลือก จำนวน ๖ หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

 

--------------------------------------------------------------------------

 

หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชาภาษาสันสกฤต ภาควิชาบาลีและสันสกฤต

คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๔๖

 

๑. ชื่อหลักสูตร

                ๑.๑          ชื่อหลักสูตรภาษาไทย             :               หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาสันสกฤต

                ๑.๒         ชื่อหลักสูตรภาษาอังกฤษ        :               Bachelor of Arts Programme in Sanskrit

๒. ชื่อปริญญา

                ๒.๑         ชื่อเต็มภาษาไทย                     :               พุทธศาสตรบัณฑิต (ภาษาสันสกฤต)

                                ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ                 :               Bachelor of Arts (Sanskrit)

                ๒.๒        ชื่อย่อภาษาไทย                       :               พธ.บ. (ภาษาสันสกฤต)

                                ชื่อย่อภาษาอังกฤษ                 :               B.A. (Sanskrit)

๓. หน่วยงานที่รับผิดชอบ

                ภาควิชาบาลีและสันสกฤต คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

๔. วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

                ๔.๑         เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ภาษาสันสกฤตขั้นใช้งานได้

                ๔.๒        เพื่อผลิตบัณฑิตให้สามารถใช้ภาษาสันสกฤตในการค้นคว้าและเผยแผ่พระพุทธศาสนา

                ๔.๓        เพื่อผลิตบัณฑิตให้สามารถสอนภาษาสันสกฤตได้

๕. โครงสร้างหลักสูตร

โครงสร้างที่ ๑ วิชาเอก - โท

                ๑.            หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                                                             ๓๐          หน่วยกิต

                ๒.           หมวดวิชาเฉพาะ                                                                     ๑๑๔       หน่วยกิต

                                ๒.๑         วิชาแกนพระพุทธศาสนา                                        ๕๐          หน่วยกิต

                                ๒.๒        วิชาเฉพาะด้าน                                                         ๖๔         หน่วยกิต                                                

๒.๒.๑    วิชาเอก                                                    ๔๖          หน่วยกิต

                                                                ๑) วิชาบังคับ (ภาษาสันสกฤต)                ๓๘          หน่วยกิต

                                                                ๒) วิชาบังคับ (ภาษาฮินดี)                      ๘             หน่วยกิต

                                                ๒.๒.๒   วิชาโท                                                     ๑๘          หน่วยกิต

                ๓.            หมวดวิชาเลือกเสรี                                                 ๖             หน่วยกิต

                                                                                                                รวม         ๑๕๐       หน่วยกิต

 

โครงสร้างที่ ๒ วิชาเอกเดี่ยว

                ๑.            หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                                                             ๓๐          หน่วยกิต

                ๒.           หมวดวิชาเฉพาะ                                                                     ๑๑๔       หน่วยกิต

                                ๒.๑         วิชาแกนพระพุทธศาสนา                                        ๕๐          หน่วยกิต

                                ๒.๒        วิชาเฉพาะด้าน                                                        ๖๔          หน่วยกิต

                                                ๒.๒.๑    วิชาบังคับ                                                ๓๘          หน่วยกิต

                                                ๒.๒.๒   วิชาบังคับเลือก                                        ๒๖          หน่วยกิต

                ๓.            หมวดวิชาเลือกเสรี                                                 ๖             หน่วยกิต

                                                                                                                รวม         ๑๕๐       หน่วยกิต

               

รายวิชาในหลักสูตร

                ๕.๑         หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ๓๐ หน่วยกิต

                                ดูรายละเอียดในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ในสาขาวิชาพระพุทธศาสนา คณะพุทธศาสตร์

                ๕.๒        วิชาแกนพระพุทธศาสนา ๕๐ หน่วยกิต

                                ให้นิสิตศึกษาวิชาแกนพระพุทธศาสนา ๕๐ หน่วยกิต ประกอบด้วย กลุ่มวิชาภาษาบาลี ๘ หน่วยกิต กลุ่มวิชาพระพุทธศาสนา ๓๒ หน่วยกิต ดังมีรายละเอียดในวิชาแกนพระพุทธศาสนา ในสาขาวิชาพระพุทธศาสนา และ วิชาแกนพระพุทธศาสนาประยุกต์ภาษาสันสกฤตอีก ๑๐ หน่วยกิต ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

                ๑๐๒ ๓๒๓            สันสกฤตทางพระพุทธศาสนา ๑            ๒(๒-๐-๔)

                ๑๐๒ ๓๒๔            สันสกฤตทางพระพุทธศาสนา ๒           ๒(๒-๐-๔)

                ๑๐๒ ๓๓๑             วรรณคดีทางพระพุทธศาสนาภาษาสันสกฤต         ๒(๒-๐-๔)

                ๑๐๒ ๔๒๑            สันสกฤตทางพระพุทธศาสนา ๓           ๒(๒-๐-๔)

                ๑๐๒ ๔๒๒           สันสกฤตทางพระพุทธศาสนา ๔           ๒(๒-๐-๔)

                ๒.๒ วิชาเฉพาะด้าน ๖๔ หน่วยกิต

                                ๒.๒.๑ วิชาเอก ๔๖ หน่วยกิต

                                                ๑) วิชาบังคับสันสกฤต ๓๘ หน่วยกิต

                                                ๑๐๒ ๓๒๑            ไวยากรณ์สันสกฤต ๑             ๓(๓-๐-๖)

                                                ๑๐๒ ๓๒๒           ไวยากรณ์สันสกฤต ๒            ๓(๓-๐-๖)

                                                ๑๐๒ ๓๒๕            นิทานคติธรรมสันสกฤต ๑     ๓(๓-๐-๖)*

                                                ๑๐๒ ๓๒๖            ปรัชญาอินเดียในคัมภีร์สันสกฤต ๑       ๒(๒-๐-๔)

                                                ๑๐๒ ๓๒๗            กวีนิพนธ์สันสกฤต ๑             ๒(๒-๐-๔)

                                                ๑๐๒ ๓๒๘            ประวัติวรรณคดีสันสกฤต       ๒(๒-๐-๔)

                                                ๑๐๒ ๓๒๙            ปรัชญาอินเดียในคัมภีร์สันสกฤต ๒      ๒(๒-๐-๔)

                                                ๑๐๒ ๓๓๐             เทพปกรณัม            ๒(๒-๐-๔)

                                                ๑๐๒ ๔๒๓            สันสกฤตพระเวท ๑                ๓(๓-๐-๖)

                                                ๑๐๒ ๔๒๔            สันสกฤตพระเวท ๒               ๒(๒-๐-๔)

                                                ๑๐๒ ๔๒๕            บทละครสันสกฤต  ๓(๓-๐-๖)

                                                ๑๐๒ ๔๒๖            แปลและแต่งสันสกฤต            ๓(๓-๐-๖)

                                                ๑๐๒ ๔๒๗            กวีนิพนธ์สันสกฤต ๒            ๒(๒-๐-๔)

                                                ๑๐๒ ๔๒๘            จารึกสันสกฤต ๑     ๒(๒-๐-๔)*

                                                ๑๐๒ ๔๓๐             จารึกสันสกฤต ๒    ๒(๒-๐-๔)**

                                                ๑๐๒ ๔๓๗            สันสกฤตอลังการศาสตร์         ๒(๒-๐-๔)**

                                ๒) วิชาบังคับภาษาฮินดี ๘ หน่วยกิต

                                                ๑๐๒ ๓๔๑             ไวยากรณ์ฮินดี ๑     ๓(๓-๐-๖)

                                                ๑๐๒ ๓๔๒            ไวยากรณ์ฮินดี ๒    ๓(๓-๐-๖)

                                                ๑๐๒ ๓๔๓            การอ่านฮินดี ๑        ๒(๒-๐-๔)

 

                ๒.๒.๒ วิชาโท ๑๘ หน่วยกิต

                                ๑) วิชาโทภาษาสันสกฤต

                                นิสิตสาขาวิชาภาษาสันสกฤต ต้องศึกษาวิชาโทในสาขาอื่นสาขาใดสาขาหนึ่งที่ เปิดสอนในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จำนวน ๑๘ หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

                                นิสิตที่ประสงค์จะศึกษาวิชาภาษาสันสกฤตเป็นวิชาโท ต้องศึกษารายวิชาภาษาสันสกฤต จำนวน ๑๘ หน่วยกิต ตามองค์ประกอบ ดังนี้               

                วิชาบังคับ ๑๒ หน่วยกิต รหัสวิชา ๑๐๒ ๓๒๑, ๑๐๒ ๓๒๒, ๑๐๒ ๓๒๕, ๑๐๒ ๔๒๖

                วิชาเลือก ๖ หน่วยกิต   ให้เลือกศึกษารายวิชาต่างๆ ในสาขาวิชาภาษาสันสกฤตอีก จำนวน ๖ หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

                                ๒) วิชาโทภาษาฮินดี ***

                                นิสิตที่ประสงค์จะศึกษาวิชาภาษาฮินดีเป็นวิชาโท ต้องศึกษารายวิชาภาษาฮินดี จำนวน ๑๘ หน่วยกิต ตามองค์ประกอบ ดังนี้

                                วิชาบังคับ ๑๒ หน่วยกิต รหัสวิชา ๑๐๒ ๓๔๑, ๑๐๒ ๓๔๒, ๑๐๒ ๓๔๓, ๑๐๒ ๔๔๒, ๑๐๒ ๔๔๓

                                วิชาเลือก ๖ หน่วยกิต   ให้เลือกศึกษารายวิชาภาษาฮินดีในวิชาโทภาษาฮินดี จำนวน ๖ หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

                                สำหรับนิสิตสาขาวิชาภาษาสันสกฤตที่เลือกวิชาโทภาษาฮินดี ให้ศึกษาภาษาฮินดีในรายวิชาบังคับที่ยังไม่ได้ศึกษา รหัสวิชา ๑๐๒ ๔๔๒,๑๐๒ ๔๔๓ รวม ๔ หน่วยกิต และวิชาเลือกอีก ๑๔ หน่วยกิต

                หมายเหตุ :              * ปรับชื่อจากรายวิชาเดิม, ** รายวิชาใหม่   *** วิชาโทเพิ่มใหม่

๓. หมวดวิชาเลือกเสรี ๖ หน่วยกิต

                นิสิตสาขาวิชาภาษาสันสกฤต ต้องเลือกศึกษารายวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นวิชาเลือกเสรี จำนวน ๖ หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

 

รายวิชาในหลักสูตร โครงสร้างที่ ๒ วิชาเอกเดี่ยว

๑. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ๓๐ หน่วยกิต  ดูรายละเอียดตามโครงสร้างที่ ๑ วิชาเอก-โท

๒. หมวดวิชาเฉพาะ ๑๑๔ หน่วยกิต

                ๒.๑ วิชาแกนพระพุทธศาสนา ๕๐ หน่วยกิต  ดูรายละเอียดตามโครงสร้างที่ ๑ วิชาเอก-โท

๒.๒ วิชาเฉพาะด้าน ๖๔ หน่วยกิต

                ๒.๒.๑    วิชาบังคับ ๓๘ หน่วยกิต  ดูรายละเอียดตามโครงสร้างที่ ๑ วิชาเอก-โท

                ๒.๒.๒   วิชาบังคับเลือก ๒๖ หน่วยกิต

                                ๑๐๒ ๓๓๒            นิทานคติธรรมสันสกฤต ๒    ๓(๓-๐-๖)**

                                ๑๐๒ ๓๓๓            สันสกฤตภาษาศาสตร์             ๒(๒-๐-๔)**

                                ๑๐๒ ๓๓๔            วรรณคดีสันสกฤต ๑               ๒(๒-๐-๔)**

                                ๑๐๒ ๓๓๕            วรรณคดีสันสกฤต ๒              ๒(๒-๐-๔)**

                                ๑๐๒ ๓๓๖             วรรณคดีสันสกฤต ๓              ๒(๒-๐-๔)**

                                ๑๐๒ ๓๓๗            พุทธปรัชญาในคัมภีร์สันสกฤต ๑          ๒(๒-๐-๔)**

                                ๑๐๒ ๓๓๘            พุทธปรัชญาในคัมภีร์สันสกฤต ๒         ๒(๒-๐-๔)**

                                ๑๐๒ ๓๓๙             พุทธปรัชญาในคัมภีร์สันสกฤต ๓          ๒(๒-๐-๔)**

                                ๑๐๒ ๓๔๐             พุทธปรัชญาในคัมภีร์สันสกฤต ๔          ๒(๒-๐-๔)**

                                ๑๐๒ ๓๔๑             ไวยากรณ์ฮินดี ๑     ๓(๓-๐-๖)

                                ๑๐๒ ๓๔๒            ไวยากรณ์ฮินดี ๒    ๓(๓-๐-๖)

                                ๑๐๒ ๓๔๓            การอ่านฮินดี ๑        ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๔๒๙            สนทนาสันสกฤต    ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๔๓๑             ปรัชญาอินเดียในคัมภีร์สันสกฤต ๓      ๓(๓-๐-๖)**

                                ๑๐๒ ๔๓๒            คำสันสกฤตในภาษาไทย        ๒(๒-๐-๔)**

                                 ๑๐๒ ๔๓๓           สัมมนาสันสกฤต    ๓(๓-๐-๖)**

                                ๑๐๒ ๔๓๔            เปรียบเทียบไวยากรณ์บาลีและสันสกฤต               ๒(๒-๐-๔)**

                                ๑๐๒ ๔๓๕            ไวยากรณ์ปาณินิ     ๒(๒-๐-๔)**

                                ๑๐๒ ๔๓๖             สันสกฤตฉันทศาสตร์             ๒(๒-๐-๔)**

                                ๑๐๒ ๔๔๑             การอ่านฮินดี ๒       ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๔๔๒            แปลและแต่งฮินดี   ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๔๔๓            สนทนาฮินดี ๑        ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๔๔๔            สนทนาฮินดี ๒       ๒(๒-๐-๔)

                                หมายเหตุ : *ปรับชื่อจากรายวิชาเดิม,** รายวิชาเพิ่มใหม่

๓. หมวดวิชาเลือกเสรี ๖ หน่วยกิต

                นิสิตสาขาวิชาภาษาสันสกฤต  ต้องเลือกศึกษารายวิชาต่างๆ  ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นวิชาเลือกเสรี จำนวน ๖ หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

คำอธิบายรายวิชา

                                วิชาแกนพระพุทธศาสนาประยุกต์ ๑๐ หน่วยกิต

๑๐๒ ๓๒๓            สันสกฤตทางพระพุทธศาสนา ๑            ๒(๒-๐-๔)  (Buddhist Sanskrit I)

๑๐๒ ๓๒๔            สันสกฤตทางพระพุทธศาสนา ๒           ๒(๒-๐-๔)  (Buddhist Sanskrit II)

๑๐๒ ๓๓๑             วรรณคดีทางพระพุทธศาสนาภาษาสันสกฤต         ๒(๒-๐-๔)  (Buddhist Literature in Sanskrit)

๑๐๒ ๔๒๑            สันสกฤตทางพระพุทธศาสนา ๓           ๒(๒-๐-๔)  (Buddhist Sanskrit III)

๑๐๒ ๔๒๒           สันสกฤตทางพระพุทธศาสนา ๔           ๒(๒-๐-๔)  (Buddhist Sanskrit IV)

 

                ๕.๓ วิชาเฉพาะด้าน ๖๔ หน่วยกิต

                                ๕.๓.๑ วิชาเอก ๔๖ หน่วยกิต

                                ๑)  วิชาบังคับสันสกฤต ๓๘ หน่วยกิต

๑๐๒ ๓๒๑            ไวยากรณ์สันสกฤต ๑             ๓(๓-๐-๖)  (Sanskrit Grammar I)

๑๐๒ ๓๒๒           ไวยากรณ์สันสกฤต ๒            ๓(๓-๐-๖)  (Sanskrit Grammar II)

๑๐๒ ๓๒๕            นิทานคติธรรมสันสกฤต ๑     ๓(๓-๐-๖)*  (Sanskrit Fables)

๑๐๒ ๓๒๖            ปรัชญาอินเดียในคัมภีร์สันสกฤต ๑       ๒(๒-๐-๔)  (Indian Philosophy in Sanskrit Tex I)

๑๐๒ ๓๒๗            กวีนิพนธ์สันสกฤต ๑             ๒(๒-๐-๔)  (Sanskrit Poetry I)

๑๐๒ ๓๒๘            ประวัติวรรณคดีสันสกฤต       ๒(๒-๐-๔)  (History of Sanskrit Literature)

๑๐๒ ๓๒๙            ปรัชญาอินเดียในคัมภีร์สันสกฤต ๒      ๒(๒-๐-๔)  (Indian Philosophy in Sanskrit Tex II)

๑๐๒ ๓๓๐             เทพปกรณัม                            ๒(๒-๐-๔)  (Indian Mythology)

๑๐๒ ๔๒๓            สันสกฤตพระเวท ๑                ๓(๓-๐-๖)  (Vedic Sanskrit I)

๑๐๒ ๔๒๔            สันสกฤตพระเวท ๒               ๒(๒-๐-๔)  (Vedic Sanskrit II)

๑๐๒ ๔๒๕            บทละครสันสกฤต  ๓(๓-๐-๖)  (Sanskrit Drama)

๑๐๒ ๔๒๖            แปลและแต่งภาษาสันสกฤต   ๓(๓-๐-๖)  (Sanskrit Translation and Composition)

                                (บุรพวิชา : ๑๐๒ ๓๒๒ ไวยากรณ์สันสกฤต ๒) 

๑๐๒ ๔๒๗            กวีนิพนธ์สันสกฤต ๒            ๒(๒-๐-๔)  (Sanskrit Poetry II)

๑๐๒ ๔๒๘            จารึกสันสกฤต ๑     ๒(๒-๐-๔)*  (Sanskrit in Inscription)

๑๐๒ ๔๓๐             จารึกสันสกฤต ๒    ๒(๒-๐-๔)**  (Sanskrit in Inscription II)

๑๐๒ ๔๓๗            สันสกฤตอลังการศาสตร์         ๒(๒-๐-๔)**   (Sanskrit Rhetorics)

 

                หมายเหตุ : * ปรับชื่อจากรายวิชาเดิม จารึกสันสกฤตŽ, ** รายวิชาที่เพิ่มใหม่

                ๒)           วิชาบังคับภาษาฮินดี ๘ หน่วยกิต

๑๐๒ ๓๔๑             ไวยากรณ์ฮินดี ๑     ๓(๓-๐-๖)  (Hindi Grammar I)          

๑๐๒ ๓๔๒            ไวยากรณ์ฮินดี ๒    ๓(๓-๐-๖)  (Hindi Grammar II)  (บุรพวิชา : ๑๐๒ ๓๔๑)

๑๐๒ ๓๔๓            การอ่านฮินดี ๑        ๒(๒-๐-๔)  (Hindi Reading I)     (บุรพวิชา : ๑๐๒ ๓๔๒)

                ๒.๒.๒ วิชาโท ๑๘ หน่วยกิต

                                ๑) วิชาโทภาษาสันสกฤต

                                นิสิตสาขาวิชาภาษาสันสกฤต วิชาเอก - โท ต้องศึกษารายวิชาในสาขาอื่นสาขาใด

สาขาหนึ่ง จำนวน ๑๘ หน่วยกิต เป็นวิชาโท หรือศึกษาวิชาโทวิชาใดวิชาหนึ่งที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

                                นิสิตที่ประสงค์จะศึกษาสาขาวิชาภาษาสันสกฤตเป็นวิชาโท ต้องศึกษารายวิชาในสาขาวิชาภาษาสันสกฤต จำนวนไม่น้อยกว่า ๑๘ หน่วยกิต ตามองค์ประกอบดังต่อไปนี้             

                                วิชาบังคับ ๑๒ หน่วยกิต  รหัสวิชา ๑๐๒ ๓๒๑, ๑๐๒ ๓๒๒, ๑๐๒ ๓๒๕, ๑๐๒ ๔๒๖

                                วิชาเลือก ๖ หน่วยกิต  ให้เลือกศึกษารายวิชาต่าง ๆ ในสาขาวิชาภาษาสันสกฤตอีก จำนวน ๖ หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

                ๒) วิชาโทภาษาฮินดี *           

                นิสิตที่ประสงค์จะศึกษาวิชาภาษาฮินดีเป็นวิชาโท ต้องศึกษารายวิชาภาษาฮินดี จำนวน ๑๘ หน่วยกิต ตามองค์ประกอบ ดังนี้

                                วิชาบังคับ ๑๒ หน่วยกิต วิชา ๑๐๒ ๓๔๑, ๑๐๒ ๓๔๒, ๑๐๒ ๓๔๓, ๑๐๒ ๔๔๒, ๑๐๒ ๔๔๓

                                วิชาเลือก ๖ หน่วยกิต  ให้เลือกศึกษารายวิชาภาษาฮินดีในวิชาโทภาษาฮินดี จำนวน ๖ หน่วยกิต  โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

                               สำหรับนิสิตสาขาวิชาภาษาสันสกฤตที่เลือกวิชาโทภาษาฮินดี  ให้ศึกษาภาษาฮินดีในรายวิชาบังคับที่ยังไม่ได้ศึกษา รหัสวิชา ๑๐๒ ๔๔๒,๑๐๒ ๔๔๓ รวม ๔ หน่วยกิต และวิชาเลือกอีก ๑๔ หน่วยกิต

๓. หมวดวิชาเลือกเสรี ๖ หน่วยกิต

                                นิสิตสาขาวิชาภาษาสันสกฤต วิชาเอก - โท ต้องเลือกศึกษารายวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นวิชาเลือกเสรี จำนวน ๖ หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

 

โครงสร้างที่ ๒ วิชาเอกเดี่ยว

๑. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ๓๐ หน่วยกิต   ดูรายละเอียดในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป โครงสร้างที่ ๑ วิชาเอก - โท

๒. หมวดวิชาเฉพาะ ๑๑๔ หน่วยกิต

                ๒.๑         วิชาแกนพระพุทธศาสนา ๕๐ หน่วยกิต   ดูรายละเอียดตามโครงสร้างที่ ๑ วิชาเอก - โท

                ๒.๒        วิชาเฉพาะด้าน ๖๔ หน่วยกิต

                                ๒.๒.๑    วิชาบังคับ ๓๘ หน่วยกิต  ดูรายละเอียดตามโครงสร้างที่ ๑ วิชาเอก - โท

                                ๒.๒.๒   วิชาบังคับเลือก ๒๖ หน่วยกิต

๑๐๒ ๓๓๒            นิทานคติธรรมสันสกฤต ๒    ๓(๓-๐-๖)**  (Sanskrit Fables II)

๑๐๒ ๓๓๓            สันสกฤตภาษาศาสตร์             ๒(๒-๐-๔)**  (Sanskrit Linguistics)

๑๐๒ ๓๓๔            วรรณคดีสันสกฤต ๑               ๒(๒-๐-๔)**  (Sanskrit Literature I)

๑๐๒ ๓๓๕            วรรณคดีสันสกฤต ๒              ๒(๒-๐-๔)**  (Sanskrit Literature II)

๑๐๒ ๓๓๖             วรรณคดีสันสกฤต ๓              ๒(๒-๐-๔) **  (Sanskrit Literature III)

๑๐๒ ๓๓๗            พุทธปรัชญาในคัมภีร์สันสกฤต ๑          ๒(๒-๐-๔)**  (Sanskrit Buddhist Philosophy I)

๑๐๒ ๓๓๘            พุทธปรัชญาในคัมภีร์สันสกฤต ๒         ๒(๒-๐-๔)**  (Sanskrit Buddhist Philosophy II)

๑๐๒ ๓๓๙             พุทธปรัชญาในคัมภีร์สันสกฤต ๓          ๒(๒-๐-๔)**  (Sanskrit Buddhist Philosophy III)

๑๐๒ ๓๔๐             พุทธปรัชญาในคัมภีร์สันสกฤต ๔          ๒(๒-๐-๔)**  (Sanskrit Buddhist Philosophy IV)

๑๐๒ ๓๔๑             ไวยากรณ์ฮินดี ๑     ๓(๓-๐-๖)  (Hindi Grammar I)          

๑๐๒ ๓๔๒            ไวยากรณ์ฮินดี ๒    ๓(๓-๐-๖)  (Hindi Grammar II)  (บุรพวิชา : ๑๐๒ ๓๔๑) 

๑๐๒ ๓๔๓            การอ่านฮินดี ๑        ๒(๒-๐-๔)  (Hindi Reading I)   (บุรพวิชา : ๑๐๒ ๓๔๒)

๑๐๒ ๔๒๙            สนทนาสันสกฤต    ๒(๒-๐-๔)  (Sanskrit Conversation)   (บุรพวิชา : ๑๐๒ ๓๒๒)

๑๐๒ ๔๓๑             ปรัชญาอินเดียในคัมภีร์สันสกฤต ๓      ๓(๓-๐-๖)**  (Indian Philosophy in Sanskrit Text III)

๑๐๒ ๔๓๒            คำสันสกฤตในภาษาไทย        ๒(๒-๐-๔)**  (Sanskrit in Thai)

๑๐๒ ๔๓๓            สัมมนาสันสกฤต    ๓(๓-๐-๖)**  (Sanskrit Seminar)

๑๐๒ ๔๓๔            เปรียบเทียบไวยากรณ์บาลีและสันสกฤต  ๒(๒-๐-๔)**  (Comparative Study in Pali and Sanskrit Grammar)

๑๐๒ ๔๓๕            ไวยากรณ์ปาณินิ     ๒(๒-๐-๔)**  (Panini Grammar)

๑๐๒ ๔๓๖             สันสกฤตฉันทศาสตร์             ๒(๒-๐-๔)**  (Sanskrit Prosody)

๑๐๒ ๔๔๑             การอ่านฮินดี ๒       ๒(๒-๐-๔)  (Hindi Reading II) (บุรพวิชา : ๑๐๒ ๓๔๒) 

๑๐๒ ๔๔๒            แปลและแต่งฮินดี        ๒(๒-๐-๔)  (Hindi Translation and Composition)  (บุรพวิชา : ๑๐๒ ๓๔๒)

๑๐๒ ๔๔๓            สนทนาฮินดี ๑        ๒(๒-๐-๔)  (Hindi Conversation I)   (บุรพวิชา : ๑๐๒ ๓๔๒)

๑๐๒ ๔๔๔            สนทนาฮินดี ๒       ๒(๒-๐-๔)  (Hindi Conversation II)

                                                หมายเหตุ : * ปรับชื่อจากรายวิชาเดิม, ** รายวิชาเพิ่มใหม่

 

๓.  หมวดวิชาเลือกเสรี ๖ หน่วยกิต

                                นิสิตสาขาวิชาภาษาสันสกฤต วิชาเอกเดี่ยว ต้องเลือกศึกษารายวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นวิชาเลือกเสรี จำนวน ๖ หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

-------------------------------------------------------------

หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชาภาษาบาลี ภาควิชาบาลีและสันสกฤต

คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

หลักสูตรใหม่ พุทธศักราช ๒๕๔๖

๑.  ชื่อหลักสูตร

                ๑.๑          ชื่อหลักสูตรภาษาไทย             :               หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาบาลี

                ๑.๒         ชื่อหลักสูตรภาษาอังกฤษ        :               Bachelor of Arts Programme in Pali

๒. ชื่อปริญญา

                ๒.๑         ชื่อเต็มภาษาไทย                     :               พุทธศาสตรบัณฑิต (ภาษาบาลี)

                                ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ                 :               Bachelor of Arts (Pali)

                ๒.๒        ชื่อย่อภาษาไทย                       :               พธ.บ. (ภาษาบาลี)

                                ชื่อย่อภาษาอังกฤษ                 :               B.A. (Pali)

๓. หน่วยงานที่รับผิดชอบ

                ภาควิชาบาลีและสันสกฤต คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

๔. วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

                                ๔.๑         เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ความชำนาญด้านภาษาบาลี

                                ๔.๒        เพื่อผลิตบัณฑิตให้สามารถใช้ภาษาบาลีในการศึกษาค้นคว้าและเผยแผ่พระพุทธศาสนา

                                ๔.๓        เพื่อผลิตบัณฑิตให้สามารถสอนภาษาบาลีได้อย่างมีประสิทธิภาพ

๕. โครงสร้างหลักสูตร

โครงสร้างที่ ๑ วิชาเอก - โท

                ๑.            หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                                             ๓๐          หน่วยกิต

                ๒.           หมวดวิชาเฉพาะ                                                     ๑๑๔       หน่วยกิต

                                ๒.๑         วิชาแกนพระพุทธศาสนา                        ๕๐          หน่วยกิต

                                ๒.๒        วิชาเฉพาะด้าน                                        ๖๔          หน่วยกิต                                                               

๒.๒.๑    วิชาเอก                                    ๔๖          หน่วยกิต

                                                                ๑) วิชาบังคับ                           ๓๘          หน่วยกิต

                                                                ๒) วิชาบังคับเลือก                  ๘             หน่วยกิต

                                                ๒.๒.๒   วิชาโท                                     ๑๘          หน่วยกิต

                ๓.            หมวดวิชาเลือกเสรี                                 ๖             หน่วยกิต

                                                                                                รวม         ๑๕๐       หน่วยกิต

 

โครงสร้างที่ ๒ วิชาเอกเดี่ยว

                ๑.            หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                                             ๓๐          หน่วยกิต

                ๒.           หมวดวิชาเฉพาะ                                                     ๑๑๔       หน่วยกิต

                                ๒.๑         วิชาแกนพระพุทธศาสนา                        ๕๐          หน่วยกิต

                                ๒.๒        วิชาเฉพาะด้าน                                        ๖๔          หน่วยกิต

                                                ๒.๒.๑    วิชาบังคับ                                ๓๘          หน่วยกิต

                                                ๒.๒.๒   วิชาเลือก                                 ๒๖          หน่วยกิต

                ๓.            หมวดวิชาเลือกเสรี                                 ๖             หน่วยกิต

                                                                                                รวม         ๑๕๐       หน่วยกิต

รายวิชาในหลักสูตร

                ๕.๑         หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ๓๐ หน่วยกิต

                                ดูรายละเอียดในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ในสาขาวิชาพระพุทธศาสนา คณะพุทธศาสตร์

                ๕.๒        วิชาแกนพระพุทธศาสนา ๕๐ หน่วยกิต

                                ให้นิสิตศึกษาวิชาแกนพระพุทธศาสนา ๕๐ หน่วยกิต ประกอบด้วย กลุ่มวิชาภาษาบาลี ๘ หน่วยกิต กลุ่มวิชาพระพุทธศาสนา ๓๒ หน่วยกิต ดังมีรายละเอียดในวิชาแกนพระพุทธศาสนา ในสาขาวิชาพระพุทธศาสนา และ วิชาแกนพระพุทธศาสนาประยุกต์อีก ๑๐ หน่วยกิต ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

                                ๑๐๑ ๓๐๑              พระพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์             ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๓๐๒             พระพุทธศาสนากับการสังคมสงเคราะห์               ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๔๐๑              นิเวศวิทยาในพระไตรปิฎก    ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๔๐๒             สาธารณสุขในพระไตรปิฎก  ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๑ ๔๐๓              นิเทศศาสตร์ในพระไตรปิฎก ๒(๒-๐-๔)

                ๒.๒ วิชาเฉพาะด้าน ๖๔ หน่วยกิต       

                                ๒.๒.๑ วิชาเอก ๔๖ หน่วยกิต

                                ๑)            วิชาบังคับ ๓๘ หน่วยกิต

                                ๑๐๒ ๓๐๑             บาลีไวยากรณ์ชั้นสูง ๑            ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๓๐๒            การใช้ภาษาบาลี ๑   ๓(๓-๐-๖)

                                ๑๐๒ ๓๐๓             วรรณคดีชาดก         ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๓๐๔             วรรณคดีบาลี ๒       ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๓๐๕             บาลีไวยากรณ์ชั้นสูง ๒           ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๓๐๖             การใช้ภาษาบาลี ๒  ๓(๓-๐-๖)

                                ๑๐๒ ๓๐๗             บาลีภาษาศาสตร์      ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๓๐๘             พระไตรปิฎกวิเคราะห์ ๑        ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๓๑๐             บาลีนิพนธ์ในประเทศไทย    ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๓๑๘             บาลีอลังการศาสตร์  ๒(๒-๐-๔)*

                                ๑๐๒ ๔๐๑             บาลีไวยากรณ์ชั้นสูง ๓           ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๔๐๒            ฉันทลักษณ์             ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๔๐๓             พระไตรปิฎกวิเคราะห์ ๒       ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๔๐๔             บาลีพระปริตร         ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๔๐๕             พระไตรปิฎกสัมพันธ์             ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๔๐๖             วิสุทธิมัคควิเคราะห์                ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๔๐๗             สัมมนาภาษาบาลี    ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๔๑๒            พระไตรปิฎกวิเคราะห์ ๓       ๒(๒-๐-๔)

หมายเหตุ : *รายวิชาที่เพิ่มใหม่

                                ๒) วิชาบังคับเลือก ๘ หน่วยกิต

                                ๑๐๒ ๓๐๙             พงศาวดารบาลีในประเทศศรีลังกา         ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๓๑๑             มิลินทปัญหาวิเคราะห์            ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๓๑๒            มังคลัตถทีปนีวิเคราะห์           ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๓๑๓             วรรณคดีบาลี ๓       ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๓๑๔             วิธีสอนภาษาบาลี    ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๓๑๕             อักษรเขียนภาษาบาลี              ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๓๑๖             วรรณคดีบาลีวิจารณ์                ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๓๑๗             เปรียบเทียบวรรณคดีบาลีกับวรรณคดีไทย             ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๔๐๘             วรรณคดีธรรมบท    ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๔๐๙             กถาวัตถุวิเคราะห์    ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๔๑๐             อภิธัมมัตถสังคหวิเคราะห์      ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๔๑๑             สนทนาภาษาบาลี    ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๔๑๓             วรรณคดีมหายาน    ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๔๑๔             จารึกพระเจ้าอโศก  ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๔๑๕             ระเบียบวิธีวิจัยทางภาษาบาลี  ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๔๑๖             สัมมนาพระไตรปิฎก              ๒(๒-๐-๔)

                ๒.๒.๒ วิชาโท ๑๘ หน่วยกิต

                                นิสิตสาขาวิชาภาษาบาลี ต้องศึกษาวิชาโทสาขาอื่น สาขาใดสาขาหนึ่งที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จำนวน ๑๘ หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

 

๓. หมวดวิชาเลือกเสรี ๖ หน่วยกิต

                นิสิตสาขาวิชาภาษาบาลี ต้องเลือกศึกษารายวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นวิชาเลือกเสรี จำนวน ๖ หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

 

รายวิชาในหลักสูตร  โครงสร้างที่  ๒  วิชาเอกเดี่ยว

๑. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ๓๐ หน่วยกิต

                ดูรายละเอียดตามโครงสร้างที่ ๑ วิชาเอก-โท

๒. หมวดวิชาเฉพาะ ๑๑๔ หน่วยกิต

                ๒.๑         วิชาแกนพระพุทธศาสนา ๕๐ หน่วยกิต                 ดูรายละเอียดตามโครงสร้างที่ ๑ วิชาเอก-โท

                ๒.๒        วิชาเฉพาะด้าน ๖๔ หน่วยกิต

                                ๒.๒.๑ วิชาบังคับ ๓๘ หน่วยกิต

                                ๑๐๒ ๓๐๑             บาลีไวยากรณ์ชั้นสูง ๑            ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๓๐๒            การใช้ภาษาบาลี ๑   ๓(๓-๐-๖)

                                ๑๐๒ ๓๐๓             วรรณคดีชาดก         ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๓๐๔             วรรณคดีบาลี ๒       ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๓๐๕             บาลีไวยากรณ์ชั้นสูง ๒           ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๓๐๖             การใช้ภาษาบาลี ๒  ๓(๓-๐-๖)

                                ๑๐๒ ๓๐๗             บาลีภาษาศาสตร์      ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๓๐๘             พระไตรปิฎกวิเคราะห์ ๑        ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๓๑๐             บาลีนิพนธ์ในประเทศไทย    ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๓๑๘             บาลีอลังการศาสตร์  ๒(๒-๐-๔)*

                                ๑๐๒ ๔๐๑             บาลีไวยากรณ์ชั้นสูง ๓           ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๔๐๒            ฉันทลักษณ์             ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๔๐๓             พระไตรปิฎกวิเคราะห์ ๒       ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๔๐๔             บาลีพระปริตร         ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๔๐๕             พระไตรปิฎกสัมพันธ์             ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๔๐๖             วิสุทธิมัคควิเคราะห์                ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๔๐๗             สัมมนาภาษาบาลี    ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๔๑๒            พระไตรปิฎกวิเคราะห์ ๓       ๒(๒-๐-๔)

หมายเหตุ : *รายวิชาที่เพิ่มใหม่

                ๒.๒.๒   วิชาบังคับเลือก ๒๖ หน่วยกิต

                                ๑๐๒ ๓๐๙             พงศาวดารบาลีในประเทศศรีลังกา         ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๓๑๑             มิลินทปัญหาวิเคราะห์            ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๓๑๒            มังคลัตถทีปนีวิเคราะห์           ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๓๑๓             วรรณคดีบาลี ๓       ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๓๑๔             วิธีสอนภาษาบาลี    ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๓๑๕             อักษรเขียนภาษาบาลี              ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๓๑๖             วรรณคดีบาลีวิจารณ์                ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๓๑๗             เปรียบเทียบวรรณคดีบาลีกับวรรณคดีไทย             ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๔๐๘             วรรณคดีธรรมบท    ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๔๐๙             กถาวัตถุวิเคราะห์    ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๔๑๐             อภิธัมมัตถสังคหวิเคราะห์      ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๔๑๑             สนทนาภาษาบาลี    ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๔๑๓             วรรณคดีมหายาน    ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๔๑๔             จารึกพระเจ้าอโศก  ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๔๑๕             ระเบียบวิธีวิจัยทางภาษาบาลี  ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๒ ๔๑๖             สัมมนาพระไตรปิฎก              ๒(๒-๐-๔)

๓. หมวดวิชาเลือกเสรี ๖ หน่วยกิต

                นิสิตสาขาวิชาภาษาบาลี ต้องเลือกศึกษารายวิชาต่างๆ  ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นวิชาเลือกเสรี จำนวน ๖ หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

 

คำอธิบายรายวิชา   กลุ่มวิชาพระพุทธศาสนาประยุกต์ ๑๐ หน่วยกิต

๑๐๑ ๓๐๑              พระพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์             ๒(๒-๐-๔)  (Buddhism and Science)

๑๐๑ ๓๐๒             พระพุทธศาสนากับการสังคมสงเคราะห์    ๒(๒-๐-๔)  (Buddhism and Social Works)

๑๐๑ ๔๐๑              นิเวศวิทยาในพระไตรปิฎก    ๒(๒-๐-๔)  (Ecology in Tipitaka)

๑๐๑ ๔๐๒             สาธารณสุขในพระไตรปิฎก  ๒(๒-๐-๔)  (Health Care in Tipitaka)

๑๐๑ ๔๐๓              นิเทศศาสตร์ในพระไตรปิฎก ๒(๒-๐-๔)  (Communication in Tipitaka)

๒.๒ วิชาเฉพาะด้าน ๖๔ หน่วยกิต

                ๒.๒.๑    วิชาเอก ๔๖ หน่วยกิต

                                ๑) วิชาบังคับ ๓๘ หน่วยกิต

๑๐๒ ๓๐๑             บาลีไวยากรณ์ชั้นสูง ๑            ๒(๒-๐-๔)  (Advanced Pali Grammar I)        

๑๐๒ ๓๐๒            การใช้ภาษาบาลี ๑   ๓(๓-๐-๖)  (Usage of Pali I)

๑๐๒ ๓๐๓             วรรณคดีชาดก                         ๒(๒-๐-๔)  (Jataka Literature)

๑๐๒ ๓๐๔             วรรณคดีบาลี ๒       ๒(๒-๐-๔)  (Pali Literature II)

๑๐๒ ๓๐๕             บาลีไวยากรณ์ชั้นสูง ๒           ๒(๒-๐-๔)  (Advanced Pali Grammar II)

๑๐๒ ๓๐๖             การใช้ภาษาบาลี ๒  ๓(๓-๐-๖)  (Usage of Pali II)

๑๐๒ ๓๐๗             บาลีภาษาศาสตร์      ๒(๒-๐-๔)  (Pali Linguistics)

๑๐๒ ๓๐๘             พระไตรปิฎกวิเคราะห์ ๑        ๒(๒-๐-๔)  (Analytical Studies of Tipitaka I)

๑๐๒ ๓๑๐             บาลีนิพนธ์ในประเทศไทย    ๒(๒-๐-๔)  (Pali Works in Thailand)

๑๐๒ ๓๑๘             บาลีอลังการศาสตร์  ๒(๒-๐-๔)*  (Pali Rhetorics)

๑๐๒ ๔๐๑             บาลีไวยากรณ์ชั้นสูง ๓           ๒(๒-๐-๔)  (Advanced Pali Grammar III)      

๑๐๒ ๔๐๒            ฉันทลักษณ์                             ๒(๒-๐-๔)  (Prosody)

๑๐๒ ๔๐๓             พระไตรปิฎกวิเคราะห์ ๒       ๒(๒-๐-๔)  (Analytical Studies of Tipitaka II)

๑๐๒ ๔๐๔             บาลีพระปริตร                         ๒(๒-๐-๔)  (Pali Paritta)

๑๐๒ ๔๐๕             พระไตรปิฎกสัมพันธ์             ๒(๒-๐-๔)  (Relation of Tipitaka)

๑๐๒ ๔๐๖             วิสุทธิมัคควิเคราะห์                ๒(๒-๐-๔)  (Analytical Studies of Visuddhimagga)

๑๐๒ ๔๐๗             สัมมนาภาษาบาลี    ๒(๒-๐-๔)  (Seminar on Pali)

๑๐๒ ๔๑๒            พระไตรปิฎกวิเคราะห์ ๓       ๒(๒-๐-๔)  (Analytical Studies of Tipitaka III)

 

                ๒)           วิชาบังคับเลือก ๘ หน่วยกิต

๑๐๒ ๓๐๙             พงศาวดารบาลีในประเทศศรีลังกา         ๒(๒-๐-๔)  (Pali Chronicles in Sri Lanka)

๑๐๒ ๓๑๑             มิลินทปัญหาวิเคราะห์            ๒(๒-๐-๔)  (Analytical Studies of Milindapanha)

๑๐๒ ๓๑๒            มังคลัตถทีปนีวิเคราะห์           ๒(๒-๐-๔)  (Analytical Studies of Mangalatthadipani)

๑๐๒ ๓๑๓             วรรณคดีบาลี ๓       ๒(๒-๐-๔)  (Pali Literature III)

๑๐๒ ๓๑๔             วิธีสอนภาษาบาลี    ๒(๒-๐-๔)  (Methods of Teaching Pali)

๑๐๒ ๓๑๕             อักษรเขียนภาษาบาลี              ๒(๒-๐-๔)  (Pali Scripts)

๑๐๒ ๓๑๖             วรรณคดีบาลีวิจารณ์                ๒(๒-๐-๔)  (Pali Literature Analysis)

๑๐๒ ๓๑๗             เปรียบเทียบวรรณคดีบาลีกับวรรณคดีไทย   ๒(๒-๐-๔)  (Comparative Study of Pali and Thai Literature)

๑๐๒ ๔๐๘             วรรณคดีธรรมบท    ๒(๒-๐-๔)  (Dhammapada Literature)

๑๐๒ ๔๐๙             กถาวัตถุวิเคราะห์    ๒(๒-๐-๔)  (Analytical Studies of Kathavatthu)

๑๐๒ ๔๑๐             อภิธัมมัตถสังคหวิเคราะห์      ๒(๒-๐-๔)  (Analytical Studies of Abhidhammatthasanggaha)

๑๐๒ ๔๑๑             สนทนาภาษาบาลี    ๒(๒-๐-๔)  (Pali Conversation)

๑๐๒ ๔๑๓             วรรณคดีมหายาน    ๒(๒-๐-๔)  (Mahayana Literature)

๑๐๒ ๔๑๔             จารึกพระเจ้าอโศก  ๒(๒-๐-๔)  (Asoka Edict)

๑๐๒ ๔๑๕             ระเบียบวิธีวิจัยทางภาษาบาลี  ๒(๒-๐-๔)  (Research Methodology of Pali)

๑๐๒ ๔๑๖             สัมมนาพระไตรปิฎก              ๒(๒-๐-๔)  (Seminar on Tipitaka)

                ๒.๒.๒   วิชาโท ๑๘ หน่วยกิต

                                นิสิตสาขาวิชาภาษาบาลี วิชาเอก-โท ต้องศึกษารายวิชาในสาขาอื่นสาขาใดสาขาหนึ่งจำนวน ๑๘ หน่วยกิต เป็นวิชาโท หรือศึกษาวิชาโทวิชาใดวิชาหนึ่งที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

                                นิสิตที่ประสงค์จะศึกษาสาขาวิชาภาษาบาลีเป็นวิชาโท จะต้องศึกษารายวิชาในสาขาวิชาภาษาบาลี จำนวนไม่น้อยกว่า ๑๘ หน่วยกิต ตามองค์ประกอบดังต่อไปนี้

                ๑)            วิชาบังคับ จำนวน ๑๐ หน่วยกิต มีรหัสวิชา ดังนี้   ๑๐๒ ๓๐๑, ๑๐๒ ๓๐๕, ๑๐๒ ๓๐๘, ๑๐๒ ๔๐๑, ๑๐๒ ๔๐๓

                ๒)           วิชาเลือก จำนวน ๘ หน่วยกิต  ให้เลือกศึกษารายวิชาต่าง ๆ ในวิชาเอกสาขาวิชาภาษาบาลีอีกจำนวน ๘ หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

 

๓. หมวดวิชาเลือกเสรี ๖ หน่วยกิต

                 นิสิตสาขาวิชาภาษาบาลี วิชาเอก - โท ต้องเลือกศึกษารายวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นวิชาเลือกเสรี จำนวน ๖ หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

 

โครงสร้างที่ ๒ วิชาเอกเดี่ยว

๑. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ๓๐ หน่วยกิต  ดูรายละเอียดตามโครงสร้างที่ ๑ วิชาเอก - โท

๒. หมวดวิชาเฉพาะ ๑๑๔ หน่วยกิต

                ๒.๑         วิชาแกนพระพุทธศาสนา ๕๐ หน่วยกิต  ดูรายละเอียดตามโครงสร้างที่ ๑ วิชาเอก - โท

                ๒.๒        วิชาเฉพาะด้าน ๖๔ หน่วยกิต

                                ๒.๒.๑ วิชาบังคับ ๓๘ หน่วยกิต

๑๐๒ ๓๐๑             บาลีไวยากรณ์ชั้นสูง ๑            ๒(๒-๐-๔)  (Advanced Pali Grammar I)        

๑๐๒ ๓๐๒            การใช้ภาษาบาลี ๑   ๓(๓-๐-๖)  (Usage of Pali I)

๑๐๒ ๓๐๓             วรรณคดีชาดก                         ๒(๒-๐-๔)  (Jataka Literature)

๑๐๒ ๓๐๔             วรรณคดีบาลี ๒       ๒(๒-๐-๔)  (Pali Literature II)

๑๐๒ ๓๐๕             บาลีไวยากรณ์ชั้นสูง ๒           ๒(๒-๐-๔)  (Advanced Pali Grammar II)

๑๐๒ ๓๐๖             การใช้ภาษาบาลี ๒  ๓(๓-๐-๖)  (Usage of Pali II)

๑๐๒ ๓๐๗             บาลีภาษาศาสตร์      ๒(๒-๐-๔)  (Pali Linguistics)

๑๐๒ ๓๐๘             พระไตรปิฎกวิเคราะห์ ๑        ๒(๒-๐-๔)  (Analytical Studies of Tipitaka I)

๑๐๒ ๓๑๐             บาลีนิพนธ์ในประเทศไทย    ๒(๒-๐-๔)  (Pali Works in Thailand)

๑๐๒ ๓๑๘             บาลีอลังการศาสตร์  ๒(๒-๐-๔)*  (Pali Rhetorics)

๑๐๒ ๔๐๑             บาลีไวยากรณ์ชั้นสูง ๓           ๒(๒-๐-๔)  (Advanced Pali Grammar III)      

๑๐๒ ๔๐๒            ฉันทลักษณ์                             ๒(๒-๐-๔)  (Prosody)

๑๐๒ ๔๐๓             พระไตรปิฎกวิเคราะห์ ๒       ๒(๒-๐-๔)  (Analytical Studies of Tipitaka II)

๑๐๒ ๔๐๔             บาลีพระปริตร                         ๒(๒-๐-๔)  (Pali Paritta)

๑๐๒ ๔๐๕             พระไตรปิฎกสัมพันธ์             ๒(๒-๐-๔)  (Relation of Tipitaka)

๑๐๒ ๔๐๖             วิสุทธิมัคควิเคราะห์                ๒(๒-๐-๔)  (Analytical Studies of Visuddhimagga)

๑๐๒ ๔๐๗             สัมมนาภาษาบาลี    ๒(๒-๐-๔)  (Seminar on Pali)

๑๐๒ ๔๑๒            พระไตรปิฎกวิเคราะห์ ๓       ๒(๒-๐-๔)  (Analytical Studies of Tipitaka III)

                                                                หมายเหตุ : * รายวิชาที่เพิ่มใหม่

                ๒.๒.๒   วิชาบังคับเลือก ๒๖ หน่วยกิต

๑๐๒ ๓๐๙             พงศาวดารบาลีในประเทศศรีลังกา         ๒(๒-๐-๔)  (Pali Chronicles in Sri Lanka)

๑๐๒ ๓๑๑             มิลินทปัญหาวิเคราะห์            ๒(๒-๐-๔)  (Analytical Studies of Milindapanha)

๑๐๒ ๓๑๒            มังคลัตถทีปนีวิเคราะห์           ๒(๒-๐-๔)  (Analytical Studies of Mangalatthadipani)

๑๐๒ ๓๑๓             วรรณคดีบาลี ๓       ๒(๒-๐-๔)  (Pali Literature III)

๑๐๒ ๓๑๔             วิธีสอนภาษาบาลี    ๒(๒-๐-๔)  (Methods of Teaching Pali)

๑๐๒ ๓๑๕             อักษรเขียนภาษาบาลี              ๒(๒-๐-๔)  (Pali Scripts)

๑๐๒ ๓๑๖             วรรณคดีบาลีวิจารณ์                ๒(๒-๐-๔)  (Pali Literature Analysis)

๑๐๒ ๓๑๗             เปรียบเทียบวรรณคดีบาลีกับวรรณคดีไทย      ๒(๒-๐-๔)  (Comparative Study of Pali and Thai Literature)

๑๐๒ ๔๐๘             วรรณคดีธรรมบท    ๒(๒-๐-๔)  (Dhammapada Literature)

๑๐๒ ๔๐๙             กถาวัตถุวิเคราะห์    ๒(๒-๐-๔)  (Analytical Studies of Kathavatthu)

๑๐๒ ๔๑๐             อภิธัมมัตถสังคหวิเคราะห์              ๒(๒-๐-๔)  (Analytical Studies of Abhidhammatthasanggaha)

๑๐๒ ๔๑๑             สนทนาภาษาบาลี    ๒(๒-๐-๔)  (Pali Conversation)

๑๐๒ ๔๑๓             วรรณคดีมหายาน    ๒(๒-๐-๔)  (Mahayana Literature)

๑๐๒ ๔๑๔             จารึกพระเจ้าอโศก  ๒(๒-๐-๔)  (Asoka Edict)

๑๐๒ ๔๑๕             ระเบียบวิธีวิจัยทางภาษาบาลี  ๒(๒-๐-๔)  (Research Methodology of Pali)

๑๐๒ ๔๑๖             สัมมนาพระไตรปิฎก              ๒(๒-๐-๔)  (Seminar on Tipitaka)

๓. หมวดวิชาเลือกเสรี ๖ หน่วยกิต

                 นิสิตสาขาวิชาภาษาบาลี วิชาเอกเดี่ยว ต้องเลือกศึกษารายวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นวิชาเลือกเสรี จำนวน ๖ หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

-------------------------------------------------------------------

 

หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชาปรัชญา ภาควิชาศาสนาและปรัชญา

คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๔๖

 

๑. ชื่อหลักสูตร

                ๑.๑          ชื่อหลักสูตรภาษาไทย             :               หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา

                ๑.๒         ชื่อหลักสูตรภาษาอังกฤษ        :               Bachelor of Arts Programme in Philosophy

๒. ชื่อปริญญา

                ๒.๑         ชื่อเต็มภาษาไทย                     :               พุทธศาสตรบัณฑิต (ปรัชญา)

                                ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ                 :               Bachelor of Arts (Philosophy)

                ๒.๒        ชื่อย่อภาษาไทย                       :               พธ.บ. (ปรัชญา)

                                ชื่อย่อภาษาอังกฤษ                 :               B.A. (Phil.)

๓. หน่วยงานที่รับผิดชอบ

                ภาควิชาศาสนาและปรัชญา คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

๔. วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

                ๔.๑         เพื่อผลิตบัณฑิตให้เข้าใจลักษณะเฉพาะของปรัชญาและสามารถเปรียบเทียบ ปรัชญาสำนักต่าง ๆ ได้

                ๔.๒        เพื่อผลิตบัณฑิตให้สามารถใช้หลักเหตุผลในการอภิปรายปัญหาปรัชญาต่างๆ เพื่อหาทางออกที่เหมาะสมสำหรับข้อถกเถียงโต้แย้ง

                ๔.๓        เพื่อผลิตบัณฑิตให้สามารถชี้ข้อดีข้อเสียของแนวการให้เหตุผลทางตรรกะ

และชี้นำ ให้เกิดการปฏิบัติพุทธธรรมโดยไม่ติดในปัญหาเชิงปรัชญา

๕. โครงสร้างหลักสูตร

โครงสร้างที่ ๑ วิชาเอก - โท

                ๑.            หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                                                             ๓๐          หน่วยกิต

                ๒.           หมวดวิชาเฉพาะ                                                                     ๑๑๔       หน่วยกิต

                                ๒.๑         วิชาแกนพระพุทธศาสนา                                        ๕๐          หน่วยกิต

                                ๒.๒        วิชาเฉพาะด้าน                                                        ๖๔          หน่วยกิต                                                                                                ๒.๒.๑    วิชาเอก                                                    ๔๖          หน่วยกิต

                                                ๒.๒.๒   วิชาโท                                                     ๑๘          หน่วยกิต

                ๓.            หมวดวิชาเลือกเสรี                                                 ๖             หน่วยกิต

                                                                                                                รวม         ๑๕๐       หน่วยกิต

โครงสร้างที่ ๒ วิชาเอกเดี่ยว

                ๑.            หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                                                             ๓๐          หน่วยกิต

                ๒.           หมวดวิชาเฉพาะ                                                                     ๑๑๔       หน่วยกิต

                                ๒.๑         วิชาแกนพระพุทธศาสนา                                        ๕๐          หน่วยกิต

                                ๒.๒        วิชาเฉพาะด้าน                                                        ๖๔          หน่วยกิต

                                                ๒.๒.๑    วิชาบังคับ                                                ๓๘          หน่วยกิต

                                                ๒.๒.๒   วิชาเลือก                                                  ๒๖          หน่วยกิต

                ๓.            หมวดวิชาเลือกเสรี                                                 ๖             หน่วยกิต

                                                                                                                รวม         ๑๕๐       หน่วยกิต

                                ๒.๑.๓ กลุ่มวิชาพระพุทธศาสนาประยุกต์ ๑๐ หน่วยกิต ดังนี้ :-

                                ๑๐๓ ๓๐๑              พุทธปรัชญาเถรวาท ๑            ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๓ ๓๐๒             พระพุทธศาสนากับปรัชญา    ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๓ ๓๐๓             พุทธปรัชญาเถรวาท ๒           ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๓ ๔๐๑              พุทธปรัชญามหายาน ๑          ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๓ ๔๐๒             พุทธปรัชญามหายาน ๒         ๒(๒-๐-๔)

                ๒.๒ วิชาเฉพาะด้าน ๖๔ หน่วยกิต

                                ๒.๒.๑ วิชาเอก ๔๖ หน่วยกิต

                                        ๑)  วิชาบังคับ ๓๘ หน่วยกิต

                                ๑๐๓ ๓๐๔             ปรัชญาอินเดีย ๑     ๓(๓-๐-๖)

                                 ๑๐๓ ๓๐๕            ปรัชญาตะวันตกสมัยโบราณ  ๓(๓-๐-๖)

                                 ๑๐๓ ๓๐๖             ปรัชญาศาสนา         ๓(๓-๐-๖)

                                ๑๐๓ ๓๐๗             ปรัชญาอินเดีย ๒    ๓(๓-๐-๖)

                                 ๑๐๓ ๓๐๘            ปรัชญาตะวันตกสมัยกลาง      ๓(๓-๐-๖)

                                ๑๐๓ ๓๐๙              อภิปรัชญา               ๓(๓-๐-๖)

                                ๑๐๓ ๓๑๐              ปรัชญาจีน-ญี่ปุ่น    ๓(๓-๐-๖)

                                ๑๐๓ ๔๐๓             ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่      ๓(๓-๐-๖)

                                ๑๐๓ ๔๐๔             จริยศาสตร์              ๓(๓-๐-๖)

                                ๑๐๓ ๔๐๕             ญาณวิทยา               ๓(๓-๐-๖)

                                ๑๐๓ ๔๐๖              ปรัชญาตะวันตกร่วมสมัย       ๓(๓-๐-๖)

                                ๑๐๓ ๔๐๗             สุนทรียศาสตร์        ๓(๓-๐-๖)

                                ๑๐๓ ๔๐๘             สัมมนาปัญหาปรัชญา             ๒(๒-๐-๔)

                                ๒) วิชาเลือก ๘ หน่วยกิต

                                ๑๐๓ ๓๑๑              ตรรกศาสตร์ตะวันออก            ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๓ ๓๑๒             ปรัชญาไทย             ๓(๓-๐-๖)

                                ๑๐๓ ๓๑๓             ปรัชญาอิสลาม        ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๓ ๓๑๔             ปรัชญาเวทานตะ     ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๓ ๓๑๕             ปรัชญาคริสต์           ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๓ ๓๑๖              ปรัชญาประวัติศาสตร์              ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๓ ๓๑๗             ปรัชญาวิทยาศาสตร์                ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๓ ๓๑๘             มนุษยปรัชญา         ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๓ ๓๑๙              ปรัชญาสังคมและการเมือง     ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๓ ๓๒๐             ปรัชญาการศึกษา     ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๓ ๓๒๑             ปรัชญาศาสนาภาคภาษาอังกฤษ              ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๓ ๔๐๙              ตรรกศาสตร์สัญลักษณ์เบื้องต้น              ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๓ ๔๑๐              ปรัชญาภาษา           ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๓ ๔๑๑              ปรัชญานิพนธ์         ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๓ ๔๑๒             อัตถิภาวนิยม           ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๓ ๔๑๓             จริยศาสตร์ประยุกต์                ๓(๓-๐-๖)

                                ๑๐๓ ๔๑๔             ปรัชญาภาคภาษาอังกฤษ         ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๓ ๔๑๕             วิเคราะห์ปัญหาปัจจุบันเชิงปรัชญา        ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๓ ๔๑๖              ปัญหาปรัชญาภาคภาษาอังกฤษ              ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๓ ๔๑๗             ปรัชญาเปรียบเทียบ                ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๓ ๔๑๘             การศึกษาเฉพาะเรื่องในพุทธปรัชญา     ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๓ ๔๑๙              ปรัชญาวิเคราะห์     ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๓ ๔๒๐             ปรัชญาในวรรณคดีไทย          ๒(๒-๐-๔)*

                                หมายเหตุ : *  วิชาที่เพิ่มใหม่

๒.๒.๒   วิชาโท ๑๘ หน่วยกิต

                                นิสิตสาขาวิชาปรัชญา วิชาเอก - โท ต้องศึกษารายวิชาในสาขาวิชาอื่นสาขาใดสาขาหนึ่งที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จำนวน ๑๘ หน่วยกิต

เป็นวิชาโท หรือศึกษาวิชาโทวิชาใดวิชาหนึ่งที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

                                นิสิตที่ประสงค์จะศึกษาสาขาวิชาปรัชญาเป็นวิชาโท จะต้องศึกษารายวิชาในสาขาวิชาปรัชญา จำนวนไม่น้อยกว่า ๑๘ หน่วยกิต ตามองค์ประกอบดังต่อไปนี้

                ๑)            วิชาบังคับ ๓ วิชา จำนวน ๘ หน่วยกิต คือ  ๑๐๓ ๓๐๔, ๑๐๓ ๓๐๕, ๑๐๓ ๓๑๒

                ๒)           วิชาเลือก ๑๐ หน่วยกิต  ให้เลือกศึกษารายวิชาต่างๆ ในสาขาวิชาปรัชญาอีกจำนวน ๑๐ หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

 

๓. หมวดวิชาเลือกเสรี ๖ หน่วยกิต

                นิสิตสาขาวิชาปรัชญา วิชาเอก - โท ต้องเลือกศึกษารายวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นวิชาเลือกเสรี จำนวน ๖ หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

 

รายวิชาในหลักสูตร โครงสร้างที่ ๒ วิชาเอกเดี่ยว

๑. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ๓๐ หน่วยกิต  ดูรายละเอียดตามโครงสร้างที่ ๑ วิชาเอก - โท

๒. หมวดวิชาเฉพาะ ๑๑๔ หน่วยกิต 

                                ๒.๑ วิชาแกนพระพุทธศาสนา ๕๐ หน่วยกิต  ดูรายละเอียดตามโครงสร้างที่ ๑ วิชาเอก - โท

                                ๒.๒ วิชาเฉพาะด้าน ๖๔ หน่วยกิต

                ๑) วิชาบังคับ ๓๘ หน่วยกิต  ดูรายละเอียดตามโครงสร้างที่ ๑ วิชาเอก - โท

                ๒) วิชาเลือก ๒๖ หน่วยกิต

                                ๑๐๓ ๓๑๑              ตรรกศาสตร์ตะวันออก            ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๓ ๓๑๒             ปรัชญาไทย             ๓(๓-๐-๖)

                                ๑๐๓ ๓๑๓             ปรัชญาอิสลาม        ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๓ ๓๑๔             ปรัชญาเวทานตะ     ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๓ ๓๑๕             ปรัชญาคริสต์           ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๓ ๓๑๖              ปรัชญาประวัติศาสตร์              ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๓ ๓๑๗             ปรัชญาวิทยาศาสตร์                ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๓ ๓๑๙              ปรัชญาสังคมและการเมือง     ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๓ ๓๒๐             ปรัชญาการศึกษา     ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๓ ๓๒๑             ปรัชญาศาสนาภาคภาษาอังกฤษ              ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๓ ๔๐๙              ตรรกศาสตร์สัญลักษณ์เบื้องต้น              ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๓ ๔๑๐              ปรัชญาภาษา           ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๓ ๔๑๑              ปรัชญานิพนธ์         ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๓ ๔๑๒             อัตถิภาวนิยม           ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๓ ๔๑๓             จริยศาสตร์ประยุกต์                ๓(๓-๐-๖)

                                ๑๐๓ ๔๑๔             ปรัชญาภาคภาษาอังกฤษ         ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๓ ๔๑๕             วิเคราะห์ปัญหาปัจจุบันเชิงปรัชญา        ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๓ ๔๑๖              ปัญหาปรัชญาภาคภาษาอังกฤษ              ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๓ ๔๑๗             ปรัชญาเปรียบเทียบ                ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๓ ๔๑๘             การศึกษาเฉพาะเรื่องในพุทธปรัชญา     ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๓ ๔๑๙              ปรัชญาวิเคราะห์     ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๓ ๔๒๐             ปรัชญาในวรรณคดีไทย          ๓(๓-๐-๖)*

                                ๑๐๓ ๔๒๑             นักปรัชญาสำคัญ     ๒(๒-๐-๔)

                                หมายเหตุ :              * รายวิชาที่เพิ่มใหม่

๓. หมวดวิชาเลือกเสรี ๖ หน่วยกิต

                นิสิตสาขาวิชาปรัชญา วิชาเอกเดี่ยว ต้องเลือกศึกษารายวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นวิชาเลือกเสรี จำนวน ๖ หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

คำอธิบายรายวิชา   กลุ่มวิชาพระพุทธศาสนาประยุกต์ ๑๐ หน่วยกิต

๑๐๓ ๓๐๑              พุทธปรัชญาเถรวาท ๑            ๒(๒-๐-๔)  (Theravada Philosophy I)             

๑๐๓ ๓๐๒             พระพุทธศาสนากับปรัชญา    ๒(๒-๐-๔)  (Buddhism and Philosophy)

๑๐๓ ๓๐๓             พุทธปรัชญาเถรวาท ๒           ๒(๒-๐-๔)  (Theravada Philosophy II)

๑๐๓ ๔๐๑              พุทธปรัชญามหายาน ๑          ๒(๒-๐-๔)  (Mahayana Philosophy I)

๑๐๓ ๔๐๒             พุทธปรัชญามหายาน ๒         ๒(๒-๐-๔)  (Mahayana Philosophy II)

                ๒.๒        วิชาเฉพาะด้าน ๖๔ หน่วยกิต

                     ๒.๒.๑ วิชาเอก ๔๖ หน่วยกิต

                           ๑) วิชาบังคับ ๓๘ หน่วยกิต

๑๐๓ ๓๐๔             ปรัชญาอินเดีย ๑     ๓(๓-๐-๖)  (Indian Philosophy I)

๑๐๓ ๓๐๕             ปรัชญาตะวันตกสมัยโบราณ  ๓(๓-๐-๖)  (Ancient Western Philosophy)

๑๐๓ ๓๐๖              ปรัชญาศาสนา                         ๓(๓-๐-๖)  (Philosophy of Religion)

๑๐๓ ๓๐๗             ปรัชญาอินเดีย ๒    ๓(๓-๐-๖)   (Indian Philosophy II)

๑๐๓ ๓๐๘             ปรัชญาตะวันตกสมัยกลาง      ๓(๓-๐-๖)  (Medieval Western Philosophy)

๑๐๓ ๓๐๙              อภิปรัชญา                               ๓(๓-๐-๖)  (Metaphysics)

๑๐๓ ๓๑๐              ปรัชญาจีนและญี่ปุ่น               ๓(๓-๐-๖)  (Chinese and Japanese Philosophy)         

๑๐๓ ๔๐๓             ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่      ๓(๓-๐-๖)  (Modern Western Philosophy)

๑๐๓ ๔๐๔             จริยศาสตร์                              ๓(๓-๐-๖)  (Ethics)

๑๐๓ ๔๐๕             ญาณวิทยา                               ๓(๓-๐-๖)  (Epistemology)

๑๐๓ ๔๐๖              ปรัชญาตะวันตกร่วมสมัย       ๓(๓-๐-๖)  (Contemporary Western Philosophy)

๑๐๓ ๔๐๗             สุนทรียศาสตร์                        ๓(๓-๐-๖)  (Aesthetics)

๑๐๓ ๔๐๘             สัมมนาปัญหาปรัชญา             ๒(๒-๐-๔)  (Seminar on Problems of Philosophy)

                ๒) วิชาเลือก ๘ หน่วยกิต

๑๐๓ ๓๑๑              ตรรกศาสตร์ตะวันออก            ๒(๒-๐-๔)  (Eastern Logic)

๑๐๓ ๓๑๒             ปรัชญาไทย                             ๓(๓-๐-๖)  (Thai Philosophy)

๑๐๓ ๓๑๓             ปรัชญาอิสลาม                        ๒(๒-๐-๔)  (Islamic Philosophy)

๑๐๓ ๓๑๔             ปรัชญาเวทานตะ     ๒(๒-๐-๔)  (Vedantic Philosophy)

๑๐๓ ๓๑๕             ปรัชญาคริสต์                           ๒(๒-๐-๔)  (Christian Philosophy)

๑๐๓ ๓๑๖              ปรัชญาประวัติศาสตร์              ๒(๒-๐-๔)  (Philosophy of History)

๑๐๓ ๓๑๗             ปรัชญาวิทยาศาสตร์                ๒(๒-๐-๔)  (Philosophy of Science)

๑๐๓ ๓๑๘             มนุษยปรัชญา                         ๒(๒-๐-๔)  (Philosophy of Man)

๑๐๓ ๓๑๙              ปรัชญาสังคมและการเมือง     ๒(๒-๐-๔)  (Social and Political Philosophy)

๑๐๓ ๓๒๐             ปรัชญาการศึกษา     ๒(๒-๐-๔)  (Philosophy of Education)

๑๐๓ ๓๒๑             ปรัชญาศาสนาภาคภาษาอังกฤษ      ๒(๒-๐-๔)  (Readings in Philosophy of Religion in English)

๑๐๓ ๔๐๙              ตรรกศาสตร์สัญลักษณ์เบื้องต้น              ๒(๒-๐-๔)  (Introduction to Symbolic Logic)

๑๐๓ ๔๑๐              ปรัชญาภาษา                           ๒(๒-๐-๔)  (Philosophy of Language)

๑๐๓ ๔๑๑              ปรัชญานิพนธ์                         ๒(๒-๐-๔)  (Philosophical Works)

๑๐๓ ๔๑๒             อัตถิภาวนิยม                           ๒(๒-๐-๔)  (Existentialism)

๑๐๓ ๔๑๓             จริยศาสตร์ประยุกต์                ๓(๓-๐-๖)  (Applied Ethics)

๑๐๓ ๔๑๔             ปรัชญาภาคภาษาอังกฤษ         ๒(๒-๐-๔)  (Philosophy in English)

๑๐๓ ๔๑๕             วิเคราะห์ปัญหาปัจจุบันเชิงปรัชญา   ๒(๒-๐-๔)  (Philosophical Analysis of Current Problems)

๑๐๓ ๔๑๖              ปัญหาปรัชญาภาคภาษาอังกฤษ              ๒(๒-๐-๔)  (Problems of Philosophy in English)

๑๐๓ ๔๑๗             ปรัชญาเปรียบเทียบ                ๒(๒-๐-๔)  (Comparative Philosophy)

๑๐๓ ๔๑๘             การศึกษาเฉพาะเรื่องในพุทธปรัชญา     ๒(๒-๐-๔)  (Case Study in Buddhist Philosophy)

๑๐๓ ๔๑๙              ปรัชญาวิเคราะห์     ๒(๒-๐-๔)  (Analytical Philosophy)

๑๐๓ ๔๒๐             ปรัชญาในวรรณคดีไทย          ๒(๒-๐-๔)*  (Philosophy in Thai Literature)

 

                ๒.๒.๒   วิชาโท ๑๘ หน่วยกิต

                นิสิตสาขาวิชาปรัชญา วิชาเอก-โท ต้องศึกษาวิชาโทสาขาวิชาอื่นสาขาใดสาขาหนึ่งที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จำนวน ๑๘ หน่วยกิต แบ่งเป็นวิชาบังคับ ๘ หน่วยกิต วิชาเลือก ๑๐ หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

                นิสิตที่ประสงค์จะศึกษาสาขาวิชาปรัชญาเป็นวิชาโท จะต้องศึกษารายวิชาในสาขาวิชาปรัชญา จำนวนไม่น้อยกว่า ๑๘ หน่วยกิต ตามองค์ประกอบดังต่อไปนี้

                                ๑) วิชาบังคับ ๓ วิชา จำนวน ๘ หน่วยกิต  คือ  ๑๐๓ ๓๐๓, ๑๐๓ ๓๐๗, ๑๐๓ ๔๑๑

                                ๒) วิชาเลือก ๑๐ หน่วยกิต  :  ให้เลือกศึกษารายวิชาต่าง ๆ ในวิชาเอกสาขาปรัชญาอีกจำนวน ๑๐ หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

๓) หมวดวิชาเลือกเสรี ๖ หน่วยกิต  : นิสิตสาขาวิชาปรัชญา วิชาเอก-โท ต้องเลือกศึกษารายวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นวิชาเลือกเสรี จำนวน ๖ หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

 

คำอธิบายรายวิชา โครงสร้างที่ ๒ วิชาเอกเดี่ยว

๑. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ๓๐ หน่วยกิต   ดูรายละเอียดตามโครงสร้างที่ ๑ วิชาเอก - โท

๒. หมวดวิชาเฉพาะ ๑๑๔ หน่วยกิต

                                ๒.๑         วิชาแกนพระพุทธศาสนา ๕๐ หน่วยกิต  ดูรายละเอียดตามโครงสร้างที่ ๑ วิชาเอก - โท

                                ๒.๒        วิชาเฉพาะด้าน ๖๔ หน่วยกิต

                                ๑)  วิชาบังคับ ๓๘ หน่วยกิต  ดูรายละเอียดตามโครงสร้างที่ ๑ วิชาเอก - โท

                                ๒)  วิชาเลือก ๒๖ หน่วยกิต

๑๐๓ ๓๐๔             ปรัชญาอินเดีย ๑     ๓(๓-๐-๖)  (Indian Philosophy I)

๑๐๓ ๓๐๕             ปรัชญาตะวันตกสมัยโบราณ  ๓(๓-๐-๖)  (Ancient Western Philosophy)

๑๐๓ ๓๐๖              ปรัชญาศาสนา                         ๓(๓-๐-๖)  (Philosophy of Religion)

๑๐๓ ๓๐๗             ปรัชญาอินเดีย ๒    ๓(๓-๐-๖)  (Indian Philosophy II)

๑๐๓ ๓๐๘             ปรัชญาตะวันตกสมัยกลาง      ๓(๓-๐-๖)  (Medieval Western Philosophy)

๑๐๓ ๓๐๙              อภิปรัชญา                               ๓(๓-๐-๖)  (Metaphysics)

๑๐๓ ๓๑๐              ปรัชญาจีนและญี่ปุ่น               ๓(๓-๐-๖)  (Chinese and Japanese Philosophy)         

๑๐๓ ๔๐๓             ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่      ๓(๓-๐-๖)  (Modern Western Philosophy)

๑๐๓ ๔๐๔             จริยศาสตร์                              ๓(๓-๐-๖)  (Ethics)

๑๐๓ ๔๐๕             ญาณวิทยา                               ๓(๓-๐-๖)  (Epistemology)

๑๐๓ ๔๐๖              ปรัชญาตะวันตกร่วมสมัย       ๓(๓-๐-๖)  (Contemporary Western Philosophy)

๑๐๓ ๔๐๗             สุนทรียศาสตร์                        ๓(๓-๐-๖)  (Aesthetics)

๑๐๓ ๔๐๘             สัมมนาปัญหาปรัชญา             ๒(๒-๐-๔)  (Seminar on Problems of Philosophy)

 

                                ๒)   วิชาเลือก ๒๖ หน่วยกิต

๑๐๓ ๓๑๑              ตรรกศาสตร์ตะวันออก            ๒(๒-๐-๔)  (Eastern Logic)

๑๐๓ ๓๑๒             ปรัชญาไทย                             ๓(๓-๐-๖)  (Thai Philosophy)

๑๐๓ ๓๑๓             ปรัชญาอิสลาม                        ๒(๒-๐-๔)  (Islamic Philosophy)

๑๐๓ ๓๑๔             ปรัชญาเวทานตะ     ๒(๒-๐-๔)  (Vedantic Philosophy)

๑๐๓ ๓๑๕             ปรัชญาคริสต์                           ๒(๒-๐-๔)  (Christian Philosophy)

๑๐๓ ๓๑๖              ปรัชญาประวัติศาสตร์              ๒(๒-๐-๔)  (Philosophy of History)

๑๐๓ ๓๑๗             ปรัชญาวิทยาศาสตร์                ๒(๒-๐-๔)  (Philosophy of Science)

๑๐๓ ๓๑๘             มนุษยปรัชญา                         ๒(๒-๐-๔)  (Philosophy of Man)

๑๐๓ ๓๑๙              ปรัชญาสังคมและการเมือง     ๒(๒-๐-๔)  (Social and Political Philosophy)

๑๐๓ ๓๒๐             ปรัชญาการศึกษา     ๒(๒-๐-๔)  (Philosophy of Education)

๑๐๓ ๓๒๑             ปรัชญาศาสนาภาคภาษาอังกฤษ      ๒(๒-๐-๔)  (Readings in Philosophy of Religion in English)

๑๐๓ ๔๐๙              ตรรกศาสตร์สัญลักษณ์เบื้องต้น              ๒(๒-๐-๔)  (Introduction to Symbolic Logic)

๑๐๓ ๔๑๐              ปรัชญาภาษา                           ๒(๒-๐-๔)  (Philosophy of Language)

๑๐๓ ๔๑๑              ปรัชญานิพนธ์         ๒(๒-๐-๔)  (Philosophical Works)

๑๐๓ ๔๑๒             อัตถิภาวนิยม                           ๒(๒-๐-๔)  (Existentialism)

๑๐๓ ๔๑๓             จริยศาสตร์ประยุกต์                ๓(๓-๐-๖)  (Applied Ethics)

๑๐๓ ๔๑๔             ปรัชญาภาคภาษาอังกฤษ         ๒(๒-๐-๔)  (Philosophy in English)

๑๐๓ ๔๑๕             วิเคราะห์ปัญหาปัจจุบันเชิงปรัชญา   ๒(๒-๐-๔)  (Philosophical Analysis of Current Problems)

๑๐๓ ๔๑๖              ปัญหาปรัชญาภาคภาษาอังกฤษ              ๒(๒-๐-๔)  (Problems of Philosophy in English)

๑๐๓ ๔๑๗             ปรัชญาเปรียบเทียบ                ๒(๒-๐-๔)  (Comparative Philosophy)

๑๐๓ ๔๑๘             การศึกษาเฉพาะเรื่องในพุทธปรัชญา     ๒(๒-๐-๔)  (Case Study in Buddhist Philosophy)

๑๐๓ ๔๑๙              ปรัชญาวิเคราะห์     ๒(๒-๐-๔)  (Analytical Philosophy)

๑๐๓ ๔๒๐             ปรัชญาในวรรณคดีไทย          ๒(๒-๐-๔)*  (Philosophy in Thai Literature)

๑๐๓ ๔๒๑             นักปรัชญาสำคัญ     ๒(๒-๐-๔)*  (Great Philosophers)

                                                หมายเหตุ :              *  วิชาที่เพิ่มใหม่

 

๓. หมวดวิชาเลือกเสรี ๖ หน่วยกิต

                นิสิตสาขาวิชาปรัชญา วิชาเอกเดี่ยว ต้องเลือกศึกษารายวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นวิชาเลือกเสรี จำนวน ๖ หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

------------------------------------------------------------------

 

หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชาศาสนา ภาควิชาศาสนาและปรัชญา

คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๖

๑. ชื่อหลักสูตร

                ๑.๑          ชื่อหลักสูตรภาษาไทย             :               หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศาสนา

                ๑.๒         ชื่อหลักสูตรภาษาอังกฤษ        :               Bachelor of Arts Programme in Religion

๒. ชื่อปริญญา

                ๒.๑         ชื่อเต็มภาษาไทย                     :               พุทธศาสตรบัณฑิต (ศาสนา)

                                ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ                 :               Bachelor of Arts (Religion)

                ๒.๒        ชื่อย่อภาษาไทย                       :               พธ.บ. (ศาสนา)

                                ชื่อย่อภาษาอังกฤษ                 :               B.A. (Religion)

๓. หน่วยงานที่รับผิดชอบ

                ภาควิชาศาสนาและปรัชญา คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

๔. วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

                ๔.๑         เพื่อผลิตบัณฑิตให้เข้าใจความเป็นมาและหลักคำสอนของศาสนาต่าง ๆ

                ๔.๒        เพื่อผลิตบัณฑิตให้สามารถอธิบายให้เห็นความสำคัญของศาสนาต่อสังคม

                ๔.๓        เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีโลกทัศน์กว้างไกลและสามารถสนทนาเกี่ยวกับศาสนาต่าง ๆ ด้วยท่าทีที่หนักแน่นมีเหตุผล

๕. โครงสร้างหลักสูตร

                โครงสร้างที่ ๑ วิชาเอก - โท

                ๑.            หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                                                             ๓๐          หน่วยกิต

                ๒.           หมวดวิชาเฉพาะ                                                                     ๑๑๔       หน่วยกิต

                                ๒.๑         วิชาแกนพระพุทธศาสนา                                        ๕๐          หน่วยกิต

                                ๒.๒        วิชาเฉพาะด้าน                                                        ๖๔          หน่วยกิต                                                                                                ๒.๒.๑    วิชาเอก                                                    ๔๖          หน่วยกิต

                                                ๒.๒.๒   วิชาโท                                                     ๑๘          หน่วยกิต

                ๓.            หมวดวิชาเลือกเสรี                                                 ๖             หน่วยกิต

                                                                                                                รวม         ๑๕๐       หน่วยกิต

รายวิชาในหลักสูตร

                ๕.๑         หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ๓๐ หน่วยกิต 

ดูรายละเอียดในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ในสาขาวิชาพระพุทธศาสนา คณะพุทธศาสตร์

                ๕.๒        วิชาแกนพระพุทธศาสนา ๕๐ หน่วยกิต 

                                ให้นิสิตศึกษาวิชาแกนพระพุทธศาสนา ๕๐ หน่วยกิต ประกอบด้วย กลุ่มวิชาภาษาบาลี ๘ หน่วยกิต กลุ่มวิชาพระพุทธศาสนา๓๒ หน่วยกิต ดังมีรายละเอียดในวิชาแกนพระพุทธศาสนา ในสาขาวิชาพระพุทธศาสนา และ วิชาแกนพระพุทธศาสนาประยุกต์อีก ๑๐ หน่วยกิต ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

                ๑๐๑ ๓๐๑              พระพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์             ๒(๒-๐-๔)

                ๑๐๑ ๓๐๒             พระพุทธศาสนากับการสังคมสงเคราะห์               ๒(๒-๐-๔)

                ๑๐๑ ๔๐๑              นิเวศวิทยาในพระไตรปิฎก    ๒(๒-๐-๔)

                ๑๐๑ ๔๐๒             สาธารณสุขในพระไตรปิฎก  ๒(๒-๐-๔)

                ๑๐๑ ๔๐๓              นิเทศศาสตร์ในพระไตรปิฎก ๒(๒-๐-๔)

๒.๒ วิชาเฉพาะด้าน ๖๔ หน่วยกิต

                ๒.๒.๑    วิชาเอก ๔๖ หน่วยกิต

                                ๑)   วิชาบังคับ ๓๘ หน่วยกิต

                                                ๑๐๑ ๓๐๓              หลักพุทธธรรม ๑    ๓(๓-๐-๖)

                                                ๑๐๑ ๓๐๗              หลักพุทธธรรม ๒   ๓(๓-๐-๖)

                                                ๑๐๑ ๔๐๔              เปรียบเทียบเถรวาทกับมหายาน             ๓(๓-๐-๖)**

                                                ๑๐๔ ๓๐๑              ศาสนาคริสต์ ๑        ๒(๒-๐-๔)

                                                ๑๐๔ ๓๐๒             ประวัติศาสนา ๑      ๓(๓-๐-๖)

                                                ๑๐๔ ๓๐๓             ศาสนากับศาสตร์ต่าง ๆ           ๓(๓-๐-๖)**

                                                ๑๐๔ ๓๐๕             ประวัติศาสนา ๒     ๓(๓-๐-๖)

                                                ๑๐๔ ๓๐๖              ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ๑        ๒(๒-๐-๔)

                                                ๑๐๔ ๓๐๘             ศาสนาอิสลาม ๑     ๒(๒-๐-๔)

                                                ๑๐๔ ๓๐๙              ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ๒       ๓(๓-๐-๖)

                                                ๑๐๔ ๔๐๑              ศาสนาเปรียบเทียบ ๑             ๓(๓-๐-๖)

                                                ๑๐๔ ๔๐๒             ธรรมสากัจฉา          ๒(๒-๐-๔)

                                                ๑๐๔ ๔๐๓             ศาสนาเปรียบเทียบ ๒            ๓(๓-๐-๖)

                                                ๑๐๔ ๔๐๔             ปรัชญามหายาน      ๓(๓-๐-๖)**

                                ๒)  วิชาเลือก ๘ หน่วยกิต

                                                ๑๐๑ ๓๐๘              พระสูตรมหายาน   ๓(๓-๐-๖)

                                                ๑๐๑ ๓๐๙              พระพุทธศาสนามหายาน       ๓(๓-๐-๖)

                                                ๑๐๔ ๓๐๔             ศาสนาคริสต์ ๒       ๓(๓-๐-๖)

                                                ๑๐๔ ๓๐๗             ศาสนาสิข ๑            ๒(๒-๐-๔)

                                                ๑๐๔ ๓๑๐              ศาสนาสิข ๒           ๓(๓-๐-๖)

                                                ๑๐๔ ๓๑๑              ศาสนาอิสลาม ๒    ๓(๓-๐-๖)

                                                ๑๐๔ ๓๑๒             ศาสนาโบราณ         ๒(๒-๐-๔)

                                                ๑๐๔ ๓๑๓             ปรากฏการณ์วิทยาแห่งศาสนา                ๒(๒-๐-๔)

                                                ๑๐๔ ๓๑๔             ภาษาศาสนา            ๒(๒-๐-๔)

                                                ๑๐๔ ๓๑๕             มานุษยวิทยาศาสนา                ๒(๒-๐-๔)

                                                ๑๐๔ ๓๑๖              จิตวิทยาศาสนา       ๒(๒-๐-๔)

                                                ๑๐๔ ๓๑๗             ศิลปะทางศาสนา     ๒(๒-๐-๔)

                                                ๑๐๔ ๓๑๘             ศาสนาในจีนและญี่ปุ่น          ๒(๒-๐-๔)*

                                                ๑๐๔ ๔๐๖              ศาสนาเต๋า               ๒(๒-๐-๔)

                                                ๑๐๔ ๔๐๗             ศาสนาขงจื๊อ           ๒(๒-๐-๔)

                                                ๑๐๔ ๔๐๘             ศาสนาเต๋า ๒           ๓(๓-๐-๖)

                                                ๑๐๔ ๔๐๙              ศาสนาขงจื๊อ ๒       ๓(๓-๐-๖)

                                                ๑๐๔ ๔๑๐              ศาสนากับวิทยาศาสตร์            ๒(๒-๐-๔)

                                                ๑๐๔ ๔๑๑              ศาสนากับเศรษฐศาสตร์          ๒(๒-๐-๔)

                                                ๑๐๔ ๔๑๒             ศาสนากับรัฐศาสตร์                ๒(๒-๐-๔)

                                                ๑๐๔ ๔๑๓             ศาสนากับสันติภาพ                ๒(๒-๐-๔)

                                                ๑๐๔ ๔๑๔             สัมมนาศาสนาภาคภาษาอังกฤษ             ๒(๒-๐-๔)

                                                ๑๐๔ ๔๑๕             ศาสนากับนิเวศวิทยา              ๒(๒-๐-๔)

                                                ๑๐๔ ๔๑๖              ศาสนากับวัฒนธรรม              ๒(๒-๐-๔)

                                                ๑๐๔ ๔๑๗             ศาสนากับภาวะผู้นำ                ๒(๒-๐-๔)

                                                ๑๐๔ ๔๑๘             ศาสนากับการพัฒนา               ๒(๒-๐-๔)

                                                ๑๐๔ ๔๑๙              การเผยแผ่ศาสนา    ๓(๓-๐-๖)

                                                ๑๐๔ ๔๒๑             ศาสนากับคนรุ่นใหม่              ๒(๒-๐-๔)*

                                                ๑๐๔ ๔๒๒            ขบวนการและแนวคิดใหม่ทางศาสนา   ๒(๒-๐-๔)*

                                                ๑๐๔ ๔๒๓            ศาสนากับสถานภาพสตรี        ๒(๒-๐-๔)*

                                                หมายเหตุ :              * วิชาที่เพิ่มใหม่

                                                                ** ปรับหน่วยกิต จาก ๒ หน่วยกิต เป็น ๓ หน่วยกิต

 

                ๒.๒.๒   วิชาโท ๑๘ หน่วยกิต

                                นิสิตสาขาวิชาศาสนา วิชาเอก - โท ต้องศึกษารายวิชาในสาขาวิชาอื่นสาขาใดสาขาหนึ่ง จำนวน ๑๘ หน่วยกิต เป็นวิชาโท หรือศึกษาวิชาโทวิชาใดวิชาหนึ่งที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

                                นิสิตที่ประสงค์จะศึกษาสาขาวิชาศาสนาเป็นวิชาโท ต้องศึกษารายวิชาในสาขาวิชาศาสนา จำนวนไม่น้อยกว่า ๑๘ หน่วยกิต ตามองค์ประกอบดังต่อไปนี้

                ๑)   วิชาบังคับ ๑๒ หน่วยกิต ดังรหัสรายวิชา คือ  ๑๐๔ ๓๐๒, ๑๐๔ ๓๐๕, ๑๐๔ ๔๐๑, ๑๐๔ ๔๐๓

                ๒)   วิชาเลือก ๖ หน่วยกิต  นิสิตต้องศึกษารายวิชาต่าง ๆ ในวิชาเอกสาขาวิชาศาสนาอีกจำนวน ๑๐ หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

๓. หมวดวิชาเลือกเสรี ๖ หน่วยกิต

                นิสิตสาขาวิชาศาสนา วิชาเอก - โท ต้องเลือกศึกษารายวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นวิชาเลือกเสรี จำนวน ๖ หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

รายวิชาโครงสร้างที่ ๒ วิชาเอกเดี่ยว

๑. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ๓๐ หน่วยกิต 

นิสิตทุกคณะต้องศึกษา จำนวน ๓๐ หน่วยกิต

๒. หมวดวิชาเฉพาะ ๑๑๔ หน่วยกิต

                ๒.๑         วิชาแกนพระพุทธศาสนา ๕๐ หน่วยกิต

                                นิสิตทุกคณะต้องศึกษา จำนวน ๕๐ หน่วยกิต

                ๒.๒        วิชาเฉพาะด้าน ๖๔ หน่วยกิต

                                ๑) วิชาบังคับ ๓๘ หน่วยกิต   

                                ๑๐๑ ๓๐๓              หลักพุทธธรรม ๑    ๓(๓-๐-๖)

                                ๑๐๑ ๓๐๗              หลักพุทธธรรม ๒   ๓(๓-๐-๖)

                                ๑๐๑ ๔๐๔              เปรียบเทียบเถรวาทกับมหายาน             ๓(๓-๐-๖)**

                                ๑๐๔ ๓๐๑              ศาสนาคริสต์ ๑        ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๔ ๓๐๒             ประวัติศาสนา ๑      ๓(๓-๐-๖)

                                ๑๐๔ ๓๐๓             ศาสนากับศาสตร์ต่าง ๆ           ๓(๓-๐-๖) **

                                ๑๐๔ ๓๐๕             ประวัติศาสนา ๒     ๓(๓-๐-๖)

                                ๑๐๔ ๓๐๖              ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ๑        ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๔ ๓๑๑              ศาสนาอิสลาม ๑     ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๔ ๓๐๙              ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ๒       ๓(๓-๐-๖)

                                ๑๐๔ ๔๐๑              ศาสนาเปรียบเทียบ ๑             ๓(๓-๐-๖)

                                ๑๐๔ ๔๐๒             ธรรมสากัจฉา          ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๔ ๔๐๓             ศาสนาเปรียบเทียบ ๒            ๓(๓-๐-๖)

                                ๑๐๔ ๔๐๔             ปรัชญามหายาน      ๓(๓-๐-๖) **

                                ๒)   วิชาเลือก ๒๖ หน่วยกิต

                                ๑๐๑ ๓๐๘              พระสูตรมหายาน   ๓(๓-๐-๖)

                                ๑๐๑ ๓๐๙              พระพุทธศาสนามหายาน       ๓(๓-๐-๖)

                                ๑๐๔ ๓๐๔             ศาสนาคริสต์๒        ๓(๓-๐-๖

                                ๑๐๓ ๓๐๖              ปรัชญาศาสนา         ๓(๓-๐-๖)

                                ๑๐๔ ๓๐๗             ศาสนาสิข ๑            ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๔ ๓๑๐              ศาสนาสิข ๒           ๓(๓-๐-๖)

                                ๑๐๔ ๓๑๑              ศาสนาอิสลาม ๒    ๓(๓-๐-๖)

                                ๑๐๔ ๓๑๒             ศาสนาโบราณ         ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๔ ๓๑๓             ปรากฏการณ์วิทยาแห่งศาสนา                ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๔ ๓๑๔             ภาษาศาสนา            ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๔ ๓๑๕             มานุษยวิทยาศาสนา                ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๔ ๓๑๖              จิตวิทยาศาสนา       ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๔ ๓๑๗             ศิลปะทางศาสนา     ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๔ ๓๑๘             ศาสนาในจีนและญี่ปุ่น          ๒(๒-๐-๔)*

                                ๑๐๔ ๔๐๖              ศาสนาเต๋า ๑            ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๔ ๔๐๗             ศาสนาขงจื๊อ ๑        ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๔ ๔๐๘             ศาสนาเต๋า ๒           ๓(๓-๐-๖)

                                ๑๐๔ ๔๐๙              ศาสนาขงจื๊อ ๒       ๓(๓-๐-๖)

                                ๑๐๔ ๔๑๐              ศาสนากับวิทยาศาสตร์            ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๔ ๔๑๑              ศาสนากับเศรษฐศาสตร์          ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๔ ๔๑๒             ศาสนากับรัฐศาสตร์                ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๔ ๔๑๓             ศาสนากับสันติภาพ                ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๔ ๔๑๔             สัมมนาศาสนาภาคภาษาอังกฤษ             ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๔ ๔๑๕             ศาสนากับนิเวศวิทยา              ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๔ ๔๑๖              ศาสนากับวัฒนธรรม              ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๔ ๔๑๗             ศาสนากับภาวะผู้นำ                ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๔ ๔๑๘             ศาสนากับการพัฒนา               ๒(๒-๐-๔)

                                ๑๐๔ ๔๑๙              การเผยแผ่ศาสนา    ๓(๓-๐-๖)

                                ๑๐๔ ๔๒๔            รหัสยนิยม              ๒(๒-๐-๔)*

                ๑๐๔ ๔๒๕            พุทธจักรวาลวิทยา   ๒(๒-๐-๔)*

                                ๑๐๔ ๔๒๖             ศาสนากับภาษาศาสตร์            ๒(๒-๐-๔)*

                                หมายเหตุ :              * วิชาเพิ่มใหม่

                                ** ปรับหน่วยกิต จาก ๒ หน่วยกิต เป็น ๓ หน่วยกิต

 

๓. หมวดวิชาเลือกเสรี ๖ หน่วยกิต

                นิสิตสาขาวิชาศาสนา วิชาเอกเดี่ยว ต้องเลือกศึกษารายวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นวิชาเลือกเสรี จำนวน ๖ หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

คำอธิบายรายวิชา   กลุ่มวิชาพระพุทธศาสนาประยุกต์ ๑๐ หน่วยกิต

๑๐๑ ๓๐๑              พระพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์             ๒(๒-๐-๔)  (Buddhism and Science)

๑๐๑ ๓๐๒             พระพุทธศาสนากับการสังคมสงเคราะห์               ๒(๒-๐-๔)  (Buddhism and Social Works)

๑๐๑ ๔๐๑              นิเวศวิทยาในพระไตรปิฎก    ๒(๒-๐-๔)  (Ecology in Tipitaka)

๑๐๑ ๔๐๒             สาธารณสุขในพระไตรปิฎก  ๒(๒-๐-๔)  (Health Care in Tipitaka)

๑๐๑ ๔๐๓              นิเทศศาสตร์ในพระไตรปิฎก ๒(๒-๐-๔)  (Communication in Tipitaka)

๒.๒  วิชาเฉพาะด้าน ๖๔ หน่วยกิต

                                ๒.๒.๑    วิชาเอก ๔๖ หน่วยกิต

                                ๑) วิชาบังคับ ๓๘ หน่วยกิต

๑๐๑ ๓๐๓              หลักพุทธธรรม ๑    ๓(๓-๐-๖)  (Essence of Buddhadhamma I)

๑๐๑ ๓๐๗              หลักพุทธธรรม ๒   ๓(๓-๐-๖)  (Essence of Buddhadhamma II)

๑๐๑ ๔๐๔              เปรียบเทียบเถรวาทกับมหายาน   ๓(๓-๐-๖)  (Comparison between Theravada and Mahayana)

๑๐๔ ๓๐๑              ศาสนาคริสต์ ๑        ๒(๒-๐-๔)  (Christianity I)

๑๐๔ ๓๐๒             ประวัติศาสนา ๑      ๓(๓-๐-๖)  (History of Religions I)

๑๐๔ ๓๐๓             ศาสนากับศาสตร์ต่าง ๆ           ๓(๓-๐-๖)  (Religion and Sciences)

๑๐๔ ๓๐๕             ประวัติศาสนา ๒     ๓(๓-๐-๖)   (History of Religions II)

๑๐๔ ๓๐๖              ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ๑        ๒(๒-๐-๔)  (Brahmanism-Hinduism I)

๑๐๔ ๓๐๘             ศาสนาอิสลาม ๑     ๒(๒-๐-๔)  (Islam I)

๑๐๔ ๓๐๙              ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ๒       ๓(๓-๐-๖)  (Brahmanism-Hinduism II)

๑๐๔ ๔๐๑              ศาสนาเปรียบเทียบ ๑             ๓(๓-๐-๖)  (Comparative Religions I)

๑๐๔ ๔๐๒             ธรรมสากัจฉา                          ๒(๒-๐-๔)  (Religions Dialogue)

๑๐๔ ๔๐๓             ศาสนาเปรียบเทียบ ๒            ๓(๓-๐-๖)  (Comparative Religions II)

๑๐๔ ๔๐๔             ปรัชญามหายาน      ๓(๓-๐-๖)  (Mahayana Philosophy)

                ๒)    วิชาเลือก ๘ หน่วยกิต

๑๐๑ ๓๐๘              พระสูตรมหายาน   ๓(๓-๐-๖)  (Mahayana Sutras)

๑๐๑ ๓๐๙              พระพุทธศาสนามหายาน       ๓(๓-๐-๖)  (Mahayana Buddhism)

๑๐๔ ๓๐๔             ศาสนาคริสต์ ๒        ๓(๓-๐-๖)  (Christianity II)

๑๐๔ ๓๐๗             ศาสนาสิข ๑            ๒(๒-๐-๔)  (Sikhism I)

๑๐๔ ๓๑๐              ศาสนาสิข ๒           ๓(๓-๐-๖)   (Sikhism II)

๑๐๔ ๓๑๑              ศาสนาอิสลาม ๒    ๓(๓-๐-๖)   (Islam II)

๑๐๔ ๓๑๘             ศาสนาในจีนและญี่ปุ่น          ๒(๒-๐-๔)*   (Religions in China and Japan)

๑๐๔ ๔๐๖              ศาสนาเต๋า ๑            ๒(๒-๐-๔)  (Taoism I)

๑๐๔ ๔๐๗             ศาสนาขงจื๊อ ๑        ๒(๒-๐-๔)  (Confucianism I)

๑๐๔ ๔๐๘             ศาสนาเต๋า ๒           ๓(๓-๐-๖)  (Taoism II)

๑๐๔ ๔๐๙              ศาสนาขงจื๊อ ๒       ๓(๓-๐-๖)  (Confucianism II)

๑๐๓ ๓๐๖              ปรัชญาศาสนา         ๓(๓-๐-๖)  (Philosophy of Religion)

๑๐๔ ๓๑๒             ศาสนาโบราณ         ๒(๒-๐-๔)  (Primitive Religions)

๑๐๔ ๓๑๓             ปรากฏการณ์วิทยาแห่งศาสนา                ๒(๒-๐-๔)  (Phenomenology of Religions)

๑๐๔ ๓๑๔             ภาษาศาสนา            ๒(๒-๐-๔)  (Religious Language)

๑๐๔ ๓๑๕             มานุษยวิทยาศาสนา                ๒(๒-๐-๔)  (Anthropology of Religion)

๑๐๔ ๓๑๖              จิตวิทยาศาสนา       ๒(๒-๐-๔)  (Psychology of Religion)

๑๐๔ ๓๑๗             ศิลปะทางศาสนา     ๒(๒-๐-๔) (Religious Arts)

๑๐๔ ๔๑๐              ศาสนากับวิทยาศาสตร์            ๒(๒-๐-๔)  (Religion and Science)

๑๐๔ ๔๑๑              ศาสนากับเศรษฐศาสตร์          ๒(๒-๐-๔)  (Religion and Economics)

๑๐๔ ๔๑๒             ศาสนากับรัฐศาสตร์                ๒(๒-๐-๔)  (Religion and Political Science)

๑๐๔ ๔๑๓             ศาสนากับสันติภาพ                ๒(๒-๐-๔) (Religion and Peace)

๑๐๔ ๔๑๔             สัมมนาศาสนาภาคภาษาอังกฤษ             ๒(๒-๐-๔)  (Seminar on Religions in English)

๑๐๔ ๔๑๕             ศาสนากับนิเวศวิทยา              ๒(๒-๐-๔)  (Religion and Ecology)

๑๐๔ ๔๑๖              ศาสนากับวัฒนธรรม              ๒(๒-๐-๔)  (Religion and Culture)

๑๐๔ ๔๑๗             ศาสนากับภาวะผู้นำ                ๒(๒-๐-๔)  (Religion and Leadership)

๑๐๔ ๔๑๘             ศาสนากับการพัฒนา               ๒(๒-๐-๔)  (Religion and Development)

๑๐๔ ๔๑๙              การเผยแผ่ศาสนา    ๓(๓-๐-๖)  (Propagation of Religions)

๑๐๔ ๔๒๑             ศาสนากับคนรุ่นใหม่              ๒(๒-๐-๔)*  (Religions and Juvenility)

๑๐๔ ๔๒๒            แนวคิดและขบวนการใหม่ๆ ทางศาสนา   ๒  (๒-๐-๔)*  (New Religious Idea and Movements)

๑๐๔ ๔๒๓            ศาสนากับสถานภาพสตรี        ๓(๓-๐-๖)*  (Religions and Women Status)

                                                หมายเหตุ : * วิชาที่เพิ่มใหม่

 

                ๒.๒.๒ วิชาโท ๑๘ หน่วยกิต

                                นิสิตสาขาวิชาศาสนา วิชาเอก - โท ต้องศึกษารายวิชาในสาขาวิชาอื่นสาขาใดสาขาหนึ่ง จำนวน ๑๘ หน่วยกิต เป็นวิชาโท หรือศึกษาวิชาโทวิชาใดวิชาหนึ่งที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

                                นิสิตที่ประสงค์จะศึกษาสาขาวิชาศาสนาเป็นวิชาโท ต้องศึกษารายวิชาในสาขาวิชาศาสนา จำนวนไม่น้อยกว่า ๑๘ หน่วยกิต ตามองค์ประกอบดังต่อไปนี้

                ๑)            วิชาบังคับ ๑๒ หน่วยกิต ดังรหัสรายวิชา คือ  ๑๐๓ ๓๐๔, ๑๐๓ ๓๐๕, ๑๐๓ ๓๐๗, ๑๐๓ ๔๐๓

                ๒)           วิชาเลือก ๖ หน่วยกิต

                นิสิตต้องศึกษารายวิชาต่าง ๆ ในวิชาเอกสาขาวิชาศาสนาอีกจำนวน ๑๐ หน่วยกิต  โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

๓. หมวดวิชาเลือกเสรี ๖ หน่วยกิต        

                นิสิตสาขาวิชาศาสนา วิชาเอก - โท ต้องเลือกศึกษารายวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยเป็นวิชาเลือกเสรี จำนวน ๖ หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

 

โครงสร้างที่ ๒ วิชาเอกเดี่ยว

                ๑.   หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ๓๐ หน่วยกิต  

                                นิสิตทุกคณะต้องศึกษา จำนวน ๓๐ หน่วยกิต

                ๒.   หมวดวิชาเฉพาะ ๑๑๔ หน่วยกิต

                                ๒.๑   วิชาแกนพระพุทธศาสนา ๕๐ หน่วยกิต

                                                นิสิตทุกคณะต้องศึกษา จำนวน ๕๐ หน่วยกิต

                                ๒.๒   วิชาเฉพาะด้าน ๖๔ หน่วยกิต

                                ๑) วิชาบังคับ ๓๘ หน่วยกิต   

๑๐๑ ๓๐๓              หลักพุทธธรรม ๑    ๓(๓-๐-๖)  (Essence of Buddhadhamma I)

๑๐๑ ๓๐๗              หลักพุทธธรรม ๒   ๓(๓-๐-๖)  (Essence of Buddhadhamma II)

๑๐๑ ๔๐๔              เปรียบเทียบเถรวาทกับมหายาน  ๓(๓-๐-๖)  (Comparison between Theravada and Mahayana)

๑๐๔ ๓๐๑              ศาสนาคริสต์ ๑        ๒(๒-๐-๔)  (Christianity I)

๑๐๔ ๓๐๒             ประวัติศาสนา ๑      ๓(๓-๐-๖)  (History of Religions I)

๑๐๔ ๓๐๓             ศาสนากับศาสตร์ต่าง ๆ           ๓(๓-๐-๖)  (Religion and Sciences)

๑๐๔ ๓๐๕             ประวัติศาสนา ๒     ๓(๓-๐-๖)   (History of Religions II)

๑๐๔ ๓๐๖              ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ๑        ๒(๒-๐-๔)  (Brahmanism-Hinduism I)

๑๐๔ ๓๐๘             ศาสนาอิสลาม ๑     ๒(๒-๐-๔)  (Islam I)

๑๐๔ ๓๐๙              ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ๒       ๓(๓-๐-๖)  (Brahmanism-Hinduism II)

๑๐๔ ๔๐๑              ศาสนาเปรียบเทียบ ๑             ๓(๓-๐-๖)  (Comparative Religions I)

๑๐๔ ๔๐๒             ธรรมสากัจฉา          ๒(๒-๐-๔)  (Religions Dialogue)

๑๐๔ ๔๐๓             ศาสนาเปรียบเทียบ ๒            ๓(๓-๐-๖)  (Comparative Religions II)

๑๐๔ ๔๐๔             ปรัชญามหายาน      ๓(๓-๐-๖)  (Mahayana Philosophy)

                ๒)    วิชาเลือก ๒๖ หน่วยกิต

๑๐๑ ๓๐๘              พระสูตรมหายาน   ๓(๓-๐-๖)  (Mahayana Sutras)

๑๐๑ ๓๐๙              พระพุทธศาสนามหายาน       ๓(๓-๐-๖)  (Mahayana Buddhism)

๑๐๓ ๓๐๖              ปรัชญาศาสนา         ๓(๓-๐-๖)  (Philosophy of Religion)

๑๐๔ ๓๐๔             ศาสนาคริสต์ ๒        ๓(๓-๐-๖)  (Christianity II)

๑๐๔ ๓๐๗             ศาสนาสิข ๑            ๒(๒-๐-๔)  (Sikhism I)

๑๐๔ ๓๑๐              ศาสนาสิข ๒           ๓(๓-๐-๖)   (Sikhism II)

๑๐๔ ๓๑๑              ศาสนาอิสลาม ๒    ๓(๓-๐-๖)   (Islam II)

๑๐๔ ๓๑๘             ศาสนาในจีนและญี่ปุ่น          ๒(๒-๐-๔)*  (Religions in China and Japan)

๑๐๔ ๔๐๖              ศาสนาเต๋า ๑            ๒(๒-๐-๔)  (Taoism I)

๑๐๔ ๔๐๗             ศาสนาขงจื๊อ ๑        ๒(๒-๐-๔)  (Confucianism I)

๑๐๔ ๔๐๘             ศาสนาเต๋า ๒           ๓(๓-๐-๖)  (Taoism II)

๑๐๔ ๔๐๙              ศาสนาขงจื๊อ ๒       ๓(๓-๐-๖)  (Confucianism II)

๑๐๓ ๓๐๖              ปรัชญาศาสนา         ๓(๓-๐-๖)  (Philosophy of Religion)

๑๐๔ ๓๑๒             ศาสนาโบราณ         ๒(๒-๐-๔)  (Primitive Religions)

๑๐๔ ๓๑๓             ปรากฏการณ์วิทยาแห่งศาสนา                ๒(๒-๐-๔)  (Phenomenology of Religions)

๑๐๔ ๓๑๔             ภาษาศาสนา            ๒(๒-๐-๔)  (Religious Language)

๑๐๔ ๓๑๕             มานุษยวิทยาศาสนา                ๒(๒-๐-๔)  (Anthropology of Religion)

๑๐๔ ๓๑๖              จิตวิทยาศาสนา       ๒(๒-๐-๔)  (Psychology of Religion)

๑๐๔ ๓๑๗             ศิลปะทางศาสนา     ๒(๒-๐-๔)  (Religious Arts)

๑๐๔ ๔๑๐              ศาสนากับวิทยาศาสตร์            ๒(๒-๐-๔)  (Religion and Science)

๑๐๔ ๔๑๑              ศาสนากับเศรษฐศาสตร์          ๒(๒-๐-๔)   (Religion and Economics)

๑๐๔ ๔๑๒             ศาสนากับรัฐศาสตร์                ๒(๒-๐-๔)  (Religion and Political Science)

๑๐๔ ๔๑๓             ศาสนากับสันติภาพ                ๒(๒-๐-๔)  (Religion and Peace)

๑๐๔ ๔๑๔             สัมมนาศาสนาภาคภาษาอังกฤษ             ๒(๒-๐-๔)  (Seminar on Religions in English)

๑๐๔ ๔๑๕             ศาสนากับนิเวศวิทยา              ๒(๒-๐-๔)  (Religion and Ecology)

๑๐๔ ๔๑๖              ศาสนากับวัฒนธรรม              ๒(๒-๐-๔)  (Religion and Culture)

๑๐๔ ๔๑๗             ศาสนากับภาวะผู้นำ                ๒(๒-๐-๔)  (Religion and Leadership)

๑๐๔ ๔๑๘             ศาสนากับการพัฒนา               ๒(๒-๐-๔)   (Religion and Development)

๑๐๔ ๔๑๙              การเผยแผ่ศาสนา    ๓(๓-๐-๖)  (Propagation of Religions)

๑๐๔ ๔๒๔            รหัสยนิยม ๒  (๒-๐-๔)*  (Mysticism)

๑๐๔ ๔๒๕            พุทธจักรวาลวิทยา   ๒(๒-๐-๔)*   (Buddhist Cosmology)

๑๐๔ ๔๒๖             ศาสนากับภาษาศาสตร์            ๒(๒-๐-๔)*   (Religion and Linguistics)

 

๓.  หมวดวิชาเลือกเสรี ๖ หน่วยกิต

                                นิสิตสาขาวิชาศาสนา วิชาเอก - เดี่ยว ต้องเลือกศึกษารายวิชาต่างๆ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นวิชาเลือกเสรี จำนวน ๖ หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา

----------------------------------------------------------------

คณะพุทธศาสตร์

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย